Page 101 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 101

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          75


               ตารางที่ 19 ความลาดชันของพื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ต าบลป่ากลาง อ าเภอปัว จังหวัดน่าน

                                 ความลาดชัน         ชั นความลาดชันเชิงเดี่ยว                 พื นที่
                  สัญลักษณ์
                                 (เปอร์เซ็นต์)           (Single slope)                 ไร่        ร้อยละ
                     A               0-2        ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ            237           8.19
                      B              2-5        ลาดชันเล็กน้อยมาก                      476          16.53

                     C               5-12       ลาดชันเล็กน้อย                         294          10.21
                     D              12-20       ลาดชันสูง                              477          16.57
                      E             20-35       สูงชันปานกลาง                        1,396          48.50
                                                รวมเนื อที่ทั งหมด                   2,880         100.00


                        3) สภาพทางน  าและแหล่งน  า
                           สภาพทางน้ าของพื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ต าบลป่ากลาง อ าเภอปัว จังหวัดน่าน

               มีล าน้ าสายหลักเพียงสายเดียวคือ ล าน้ าเป้าซึ่งไหลลงไปรวมตัวกันกับห้วยข้าวหลามและไหลลงทิศใต้รวมกับล าน้ าย่าง
               ที่ต าบลจอมพระ อ าเภอท่าวังผา ซึ่งไหลจากตะวันออกไปทางทิศตะวันตก และไหลลงไปแม่น้ าน่านที่บ้านสบย่าง
               ต าบลป่าคา อ าเภอท่าวังผา ตามล าดับ
                           จะเห็นได้ว่า พื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ต าบลป่ากลาง อ าเภอปัว จังหวัดน่าน

               มีความเสี่ยงสูงต่อการขาดแคลนน้ าในช่วงที่ฝนทิ้งช่วงนาน เนื่องจากมีเพียงล าน้ าสายหลักเพียงสายเดียว ดังนั้น
               การจัดท าระบบน้ าชลประทานเพิ่มเติมในพื้นที่ ตลอดจนเพิ่มความสามารถการอุ้มน้ าของดินของดิน และจัดท า
               ระบบการอนุรักษ์ดินและน้ าจึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่ง


                        4) สภาพการใช้ที่ดิน
                           จากวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ต าบลป่ากลาง
               อ าเภอปัว จังหวัดน่าน (ภาพที่ 25 และตารางที่ 20) ซึ่งรายละเอียด ดังนี้
                           (1) พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 1,896 ไร่ หรือร้อยละ 65.83 ของพื้นที่ ประกอบด้วย พืชไร่

               มีเนื้อที่ 1,727 ไร่ หรือร้อยละ 59.97 ของพื้นที่ รองลงมาคือนาข้าว มีเนื้อที่ 79 ไร่ หรือร้อยละ 2.74 ของพื้นที่ ไม้ผล
               มีเนื้อที่ 56 ไร่ หรือร้อยละ 1.94 ของพื้นที่ และไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 34 ไร่ หรือร้อยละ 1.18 ของพื้นที่
                           (2) พื้นที่ป่าไม้ มีเนื้อที่ 982 ไร่ หรือร้อยละ 34.10 ของพื้นที่ ได้แก่ ป่าผลัดใบสมบูรณ์ และป่าผลัดใบ

               สมบูรณ์
                           (3) พื้นที่น้ า มีเนื้อที่ 2 ไร่ หรือร้อยละ 0.07 ของพื้นที่
                           จะเห็นได้ว่าสภาพการใช้ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม และพืชที่ปลูกส่วนใหญ่แล้วเป็นพืชไร่
               ซึ่งการปลูกพืชไร่ในพื้นที่ที่มีความลาดชันเป็นการเพิ่มความเสี่ยงการกร่อนดิน หากไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
               ร่วมกับการปลูกพืช
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106