Page 73 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 73

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       54


                                    ตะพักระดับกลางของพื นที่เกือบราบ (middle part of planation surface) เป็น

                 บริเวณที่อยู่สูงถัดขึ นมาจากตะพักระดับต่ า มีสภาพเป็นที่ดอน สภาพพื นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด เกิดจากการ

                 ทับถมของตะกอนด้านบน และบางแห่งเกิดจากการสลายตัวของหินเบื องล่าง

                                    ตะพักระดับสูงของพื นที่เกือบราบ (higher part of planation surface) มีลักษณะ

                 เป็นเนิน มีสภาพพื นที่เป็นลูกคลื่นลอนชัน เกิดจากการสลายตัวของหินเนื อหยาบและหินเนื อละเอียด เช่น

                 หินทรายและหินดินดานที่อยู่เบื องล่าง

                             7.1.7 ทรัพยากรดิน

                             จากข้อมูลทรัพยากรดินของส านักส ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดินมาตราส่วน 1 : 50,000

                 (2530-2534) ได้ถูกน ามาใช้ประกอบการจัดท ารายงานการส ารวจจ าแนกดินหรือเป็นข้อมูลเพื่อการศึกษา

                 สภาพปัญหาของทรัพยากรดินเพื่อน าไปสู่การจัดท าโครงการเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  า จากการศึกษาพบว่า พื นที่

                 ลุ่มน  าสาขาล าน  าชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) มีกลุ่มชุดดินทั งสิ น 25 กลุ่มชุดดิน 5 หน่วยแผนที่รวม และ 2 หน่วย

                 แผนที่พื นที่เบ็ดเตล็ด รวมทั งสิ น 32 หน่วยแผนที่ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 9) ดังนี

                                1)  กลุ่มชุดดินที่ 4

                                ลักษณะโดยทั่วไป : มีเนื อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียดหรือดินเหนียวละเอียดมาก

                 ดินลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนล าน  า พบในพื นที่ราบลุ่มหรือตะพักล าน  าระดับต่ า สภาพพื นที่

                 ค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชันน้อยกว่า 2 เปอร์เซ็นต์ เป็นดินที่มีการพัฒนาการของดินน้อย การระบาย

                 น  าของดินค่อนข้างเลว มีน  าท่วมขังในฤดูฝน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างปานกลาง

                 (pH 6.0-8.0) ดินจะแตกระแหงเป็นร่องกว้างและลึกเมื่อดินแห้ง และพบรอยไถลหรือก้อนปูนในหน้าตัดดิน

                 ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติปานกลาง

                                ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน : กลุ่มชุดดินนี ไม่ค่อยมีปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน แต่ถ้า

                 เป็นที่ลุ่มมากๆ จะมีปัญหาเรื่องน  าท่วมในฤดูฝน

                                กลุ่มชุดดินที่ 4 พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ

                                หน่วยแผนที่ 4 : กลุ่มชุดดินที่ 4 ที่มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื อที่ประมาณ

                 224,342 ไร่ หรือร้อยละ 7.05 ของพื นที่ลุ่มน  าสาขา

                                2)  กลุ่มชุดดินที่ 5

                                ลักษณะโดยทั่วไป : มีเนื อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียด ดินลึกมาก เกิดจากวัตถุต้น

                 ก าเนิดดินพวกตะกอนล าน  า พบในบริเวณที่ราบตะกอนน  าพา มีสภาพพื นที่เป็นที่ราบเรียบ มีความลาดชัน

                 น้อยกว่า 2 เปอร์เซ็นต์ มีการระบายน  าเลวหรือค่อนข้างเลว ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78