Page 72 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 72

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       53


                             7.1.6 ธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก้าเนิดดิน

                             สภาพธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก าเนิดดินของลุ่มน  าสาขาล าน  าชีส่วนที่ 4 (0416)

                 ประกอบด้วย

                                1) สัณฐานแบบเควสตา (cuesta) เป็นสัณฐานที่เกิดจากการเอียงตัวของชั นหินตามธรณี

                 โครงสร้าง ที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก (plate - tectonics) และเมื่อมีแรงมากระท าต่อหิน ท าให้

                 เกิดการแตกหรือรอยเลื่อนในชั นหิน ท าให้เกิดการเอียงตัวของชั นหินและเกิดการคดโค้งของหินที่มีลักษณะ

                 ด้านลาดตามแนวเขา (dip slope) มีมุมเอียงเล็กน้อย มีวัตถุต้นก าเนิดดินจะเป็นหินเนื อละเอียด เช่น

                 หินดินดานของหมวดหินเสาขรัว (Jsk) ซึ่งง่ายต่อการสลายตัวผุพัง โดยสัณฐานแบบเควสต้าพบได้ในลุ่มน  า

                 สาขานี บริเวณ ต าบลค าพอุง อ าเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด

                                  2) สัณฐานที่เกิดจากอิทธิพลของธารน  าไหล (fluvial land form) เกิดจากอิทธิพล

                 ของน  า ในการกัดกร่อนและพัดพาเอาตะกอนไปตามความลาดเอียงของพื นที่ไปสู่พื นที่ที่อยู่ต่ ากว่า ซึ่งท าให้

                 เกิดภูมิสัณฐานแบบต่างๆ คือ

                                    (1) ที่ราบลุ่มน  าท่วมถึง (flood plain) เป็นพื นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ

                 ที่ขนานเป็นแนวยาวไปตามล าน  าชี ซึ่งในพื นที่ลุ่มน  าย่อยนี  ได้แก่ ตะกอนน  าพา (Qa) ที่ประกอบด้วย

                 2 ลักษณะ ได้แก่ สันดินริมน  า (river levee) เป็นคันดินที่เกิดขึ นตามธรรมชาติในหน้าน  าหลาก ล าน  าชีจะ

                 พัดพาเอาตะกอนมาทับถมริมสองฝั่งแม่น  า ตะกอนที่ทับถมกันจะเกิดเป็นลักษณะเนินดินยาวติดฝั่งแม่น  าและ

                 ขนานไปตามริมน  า ซึ่งจะเห็นได้ชัดเมื่อน  าลด และที่ราบลุ่มหลังแม่น  า (river basin) เป็นพื นที่ลุ่มต่ าถัดลงมา

                 จากสันดินริมน  า มีลักษณะเป็นแอ่งและมักมีน  าท่วมขังในฤดูฝน

                                    (2) พื นที่เกือบราบ (plaination surface) เกิดจากตะกอนจ านวนมากที่ถูกพัดพา

                 ด้วยอิทธิพลของน  า ตามความลาดเอียงของพื นที่ มาทับถมบนพื นที่กว้างใหญ่ที่ซ้อนอยู่บนชั นหินแข็งพื นล่าง

                 แล้วเกิดปรากฏการณ์ปรับระดับของพื นที่จากอิทธิพลของน  าและฝน พัดพาเอาตะกอนบางส่วนออกไป เป็น

                 ผลให้เกิดสภาพพื นที่ลดระดับ เกิดเป็นพื นที่มีความลาดชันหรือเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึง ลูกคลื่นลอน

                 ชัน ซึ่งในพื นที่ลุ่มน  าสาขาล าน  าชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) นี มักพบบริเวณหน่วยหินมหาสารคาม (Kms) และ

                 แนวตะกอนตะพักลุ่มน  า (Qt) หรือบริเวณที่อยู่สูงถัดขึ นมาจากพื นที่ราบน  าท่วมถึง (flood plain) ซึ่งจ าแนก

                 พื นที่ออกเป็น 3 ลักษณะ คือ

                                    ตะพักระดับต่ าของพื นที่เกือบราบ (lower part of planation surface) เป็น

                 บริเวณที่อยู่ถัดขึ นมาจากพื นที่ราบลุ่มหลังแม่น  า มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม ราบเรียบหรือพื นที่เกือบราบ
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77