Page 77 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       58


                                ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน : มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เนื อดินค่อนข้างเป็นทราย

                 มีความสามารถในการอุ้มน  าต่ า มักพบปัญหาการขาดแคลนน  าในฤดูเพาะปลูก

                                กลุ่มชุดดินที่ 22 ประกอบด้วย 1 หน่วยแผนที่ ได้แก่

                                หน่วยแผนที่ 22 : กลุ่มชุดดินที่ 22 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื อที่ประมาณ

                 4,935 ไร่ หรือร้อยละ 0.16 ของพื นที่ลุ่มน  าสาขา

                                11)  กลุ่มชุดดินที่ 24

                                ลักษณะโดยทั่วไป : มีเนื อดินเป็นพวกดินทราย ดินลึกมาก เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวก

                 ตะกอนล าน  าหรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของวัสดุ

                 เนื อหยาบ พบในบริเวณที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน  า

                 ค่อนข้างเลวถึงดีมากเกินไป มีน  าแช่ขังในช่วงฤดูฝน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกลาง (pH 5.0-7.0)

                 ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า

                                ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน : เนื อดินเป็นทรายจัด มีความสามารถในการอุ้มน  า

                 ต่ า พืชมักแสดงอาการขาดน  าในช่วงฝนทิ ง และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า

                                กลุ่มชุดดินที่ 24 ประกอบด้วย 1 หน่วยแผนที่ ได้แก่

                                หน่วยแผนที่ 24 : กลุ่มชุดดินที่ 24 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื อที่ประมาณ

                 374,292 ไร่ หรือร้อยละ 11.76 ของพื นที่ลุ่มน  าสาขา

                                12)  กลุ่มชุดดินที่ 25

                                ลักษณะโดยทั่วไป : มีเนื อดินเป็นพวกดินร่วนหรือดินเหนียวปนชิ นส่วนหยาบมากกว่า

                 ร้อยละ 35 โดยปริมาตร ภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินตื นหรือตื นมาก เกิดจากวัตถุต้นก าเนิด

                 ดินพวกตะกอนน  าพาหรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถม

                 ของวัสดุเนื อหยาบวางทับอยู่บนชั นหินผุ พบในบริเวณที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2

                 เปอร์เซ็นต์ การระบายน  าค่อนข้างเลว มีน  าแช่ขังในช่วงฤดูฝน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกลาง

                 (pH 4.5-7.0) ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า

                                ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน : เป็นดินตื น มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า และมีโอกาสที่

                 จะขาดน  าได้ง่ายในช่วงฤดูเพาะปลูก บางแห่งมีเนื อดินบนค่อนข้างเป็นทราย

                                กลุ่มชุดดินที่ 25 ประกอบด้วย 1 หน่วยแผนที่ คือ

                                หน่วยแผนที่ 25 : กลุ่มชุดดินที่ 25 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื อที่ประมาณ

                 12,157 ไร่ หรือร้อยละ 0.38 ของพื นที่ลุ่มน  าสาขา
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82