Page 68 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 68

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       50

                             7.1.5 ธรณีวิทยา

                             บริเวณลุ่มน  าสาขาล าน  าชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) มีสภาพธรณีวิทยา (ตารางที่ 4 และภาพที่ 8)

                 ดังนี

                                  1) แนวตะกอนน  าพา (Quaternary : Qa) พบตามแนวของที่ราบน  าท่วมของล าน  าชี

                 บริเวณตอนกลางและตอนปลายของพื นที่ลุ่มน  า ประกอบด้วยตะกอนที่เกิดสะสมตัวภายใต้ล าน  าปัจจุบัน

                 ได้แก่ ตะกอนกรวด ทราย ทรายแป้งและดินเหนียว มีเนื อที่ประมาณ 475,766 ไร่ หรือร้อยละ 14.95 ของ

                 พื นที่ลุ่มน  าสาขา

                                  2) แนวตะกอนตะพักลุ่มน  า (Quaternary : Qt) ตะกอนตะพักลุ่มน  า กรวด ทราย

                 ทรายแป้ง และศิลาแลง พบบริเวณอ าเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม ตรงจุดเชื่อมต่อระหว่าง ลุ่มน  าสาขา

                 ห้วยสายบาตร (รหัส 0415) กับลุ่มน  าสาขาล าปาวตอนล่าง (รหัส 0419) มีเนื อที่ทั งสิ นประมาณ 8,845 ไร่

                 หรือร้อยละ 0.28 ของพื นที่ลุ่มน  าสาขา

                                3) หมวดหินมหาสารคาม (Maha SaraKham Formation : Kkk) เป็นหมวดหินที่มีอายุ

                 อยู่ในช่วงคลีเทเชียสช่วงบนจนถึงเทอร์เชียรีช่วงล่าง (Upper Cretaceous – Lower Tertiary) ที่มีอายุ

                 ประมาณ 6.5-1.8 ล้านปี ประกอบด้วยหินทรายแป้งและหินทราย สีน  าตาลแกมแดงและแดงอ่อน มีเกลือหิน

                 และยิปซั่มแทรกสลับ เป็นหมวดหินที่มีพื นที่ส่วนใหญ่ของลุ่มน  านี  พบบริเวณถัดจากพื นที่ราบลุ่มแม่น  าขึ นมา

                 ทั งสองฝั่งของล าน  าชี มีเนื อที่ประมาณ 2,593,057 ไร่ หรือร้อยละ 81.47 ของพื นที่ลุ่มน  าสาขา

                                4) หมวดหินโคกกรวด (Khok Kruat Formation : Kkk) เป็นหมวดหินที่มีอายุอยู่ในช่วง

                 คลีเทเชียส (Cretaceous) ที่มีอายุประมาณ 100-65 ล้านปี ประกอบด้วยหินทราย หินทรายแป้งและหิน

                 กรวดมน เนื อปูนปน เม็ดละเอียด สีแดงแกมเทา น  าตาลแกมแดงและแดงอ่อน พบบริเวณตอนบนของ

                 ลุ่มน  าชีส่วนที่ 4 บริเวณจุดเชื่อมต่อกับลุ่มน  าล าน  ายัง (รหัส 0420) และลุ่มน  าย่อยล าปาวตอนล่าง

                 (รหัส 0419) หรือบริเวณต าบลขามเปี้ย ต าบลค าพอุง และต าบลโพธิ์ศรี อ าเภอโพธิ์ชัย และต าบลนาอุดม

                 ต าบลอุ่มเม่า และต าบลค านาดี อ าเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื อที่ประมาณ 79,768 ไร่ หรือร้อยละ

                 2.50 ของพื นที่ลุ่มน  าสาขา

                                5) หมวดหินภูพาน (Phu Phan Formation : Kpp) เป็นหมวดหินที่มีอายุอยู่ในช่วง

                 คลีเทเชียส (Cretaceous) ที่มีอายุประมาณ 140-100 ล้านปี ประกอบด้วยหินทรายและหินทรายเนื อเป็น

                 กรวด สีเทาแกมน  าตาล เทาแกมชมพูและส้ม มีชั นหนา รอยชั นขวางหินทรายแป้งและหินดินดาน สีน  าตาล

                 แกมแดง พบอยู่บริเวณระหว่างหมวดหินเสาขรัว (Jsk) กับหมวดหินโคกกรวด (Kkk) ทางด้านทิศเหนือของ

                 ลุ่มน  าสาขานี  ต าบลค าพอุง อ าเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด มีเนื อที่ประมาณ 20,334 ไร่ หรือร้อยละ 0.64

                 ของพื นที่ลุ่มน  าสาขา
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73