Page 34 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 34
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
22
มีกรวดปน (g: gravelly) มีก้อนกรวด 15 ถึงน้อยกว่าร้อยละ 35 โดยปริมาตร
มีกรวดปนมาก (vg: very gravelly) มีก้อนกรวดร้อยละ 35 ถึงน้อยกว่าร้อยละ 60
โดยปริมาตร
มีกรวดปนมากที่สุด (xg: extremely gravelly) มีก้อนกรวดเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 60
โดยปริมาตร
3.20.5 การกร่อนของดิน (erosion phase)
การกร่อนของดิน หมายถึง กระบวนการหนึ่งหรือหลายกระบวนการ ที่ท าให้วัสดุดินหลุดไป
ละลายไปหรือกร่อนไป โดยตัวการทางธรรมชาติ โดยอาจจะมีการกระท าของมนุษย์เป็นตัวเร่ง ตัวการที่ท าให้
เกิดกระบวนการกร่อนของดินตามธรรมชาติ ได้แก่ น าและลม การกร่อนของดินท าให้คุณภาพของดินเสื่อมลง
สูญเสียธาตุอาหาร ดินตื นขึ นและแน่นทึบ เป็นต้น การประเมินการกร่อนของดินด้วยวิธีสนาม โดยการ
คาดคะเนจากการสูญเสียชั นดินบน ได้แก่ ชั นดิน A ซึ่งเป็นชั นผิวดินที่ถูกรบกวนหรือชั นดินอนินทรีย์ที่
คลุกเคล้าด้วยอินทรียวัตถุและชั น E ซึ่งเป็นชั นที่อนุภาคดินเหนียวและแร่ธาตุต่างๆ ถูกชะล้างลงไปสะสมใน
ชั นดินล่างๆ ชั นความรุนแรงการกร่อน แบ่งได้ดังนี
E : ไม่มีการกร่อน (non eroded) ไม่มีการสูญเสียของชั นดิน
0
E : กร่อนเล็กน้อย (slightly eroded) มีการสูญเสียของชั นดิน (A หรือ E) น้อยกว่า
1
ร้อยละ 25
E : กร่อนปานกลาง (moderately eroded) มีการสูญเสียของชั นดิน (A หรือ E)
2
ร้อยละ 25-75
E : กร่อนรุนแรง (severely eroded) มีการสูญเสียของชั นดิน (A หรือ E) มากกว่า
3
ร้อยละ 75
E : กร่อนรุนแรงมาก (very severely eroded) มีการสูญเสียของชั นดิน (A หรือ E)
4
ร้อยละ 100
หมายเหตุ ร้อยละการสูญเสียของชั นดิน A และ/หรือชั น E หรือของชั นดินตอนบน 20
เซนติเมตร (ถ้าชั นดิน A และ/หรือชั นดิน E ดั งเดิมมีความหนาน้อยกว่า 20 เซนติเมตร)
ตัวอย่างการเขียนหน่วยประเภทดิน เช่น ชุดดิน/ดินคล้ายเนื อดินบน ความลาดชัน/ความลึก
การกร่อน
Suk-slB/d ,E : ชุดดินสตึก มีเนื อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
5 0
ลึกมาก ไม่มีการกร่อน