Page 37 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 37
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
ตลอดจนสภาพแวดล้อมของดินบางประการ จากการศึกษาจ าแนกดินในภาคสนามตามหลักเกณฑ์การจ าแนก
ดินระบบอนุกรมวิธานดิน (soil taxonomy) และจัดชั นความเหมาะสมของดินไว้ 5 ระดับ คือ เหมาะสมดี
มาก เหมาะสมดี เหมาะสมปานกลาง ไม่ค่อยเหมาะสม และไม่เหมาะสม
2) บรรทัดฐานที่น ามาใช้พิจารณาเพื่อจ าแนกความเหมาะสมของดิน เนื่องจากปัจจัยที่
ควบคุมการเจริญเติบโตที่มีผลกระทบต่อผลผลิตของพืชมีอยู่มากมาย ทั งที่อยู่ในผิวดิน สภาพแวดล้อม ชนิด
ของพืชพรรณ โรค แมลง ตลอดจนวิธีการจัดการดูแลรักษา เป็นต้น จากปัจจัยต่างๆ เหล่านี จะเห็นว่าดินเป็น
ปัจจัยพื นฐานที่ควรได้รับการพิจารณาถึงความเหมาะสมส าหรับการปลูกพืชเป็นประการแรก แต่ทั งนี มิได้
หมายความว่าดินเป็นปัจจัยที่ส าคัญมากกว่าปัจจัยการผลิตชนิดอื่นๆ ปัจจัยการผลิตทุกปัจจัยจะต้องได้รับการ
เอาใจใส่จึงจะท าให้พืชที่ปลูกได้รับผลผลิตสูงสุด
ในที่นี จะพิจารณาเฉพาะเรื่องดินเป็นเกณฑ์และอาจมีปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับที่ดิน
บางประการ ซึ่งข้อมูลเหล่านี ได้มาจากการศึกษาดินและการจ าแนกดินทั งสิ น ดังนั น เพื่อให้ผู้จ าแนกความ
เหมาะสมของดินมีความเข้าใจที่เหมือนกัน จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องก าหนดบรรทัดฐานต่างๆ ขึ นมา เพื่อ
น าไปใช้ประกอบในการพิจารณาการจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจให้เป็นไปในแนวทาง
อันเดียวกัน ดังนี
(1) การจ าแนกความเหมาะสมของดิน เป็นการน าเอาลักษณะและสมบัติต่างๆ ของ
ดิน ตลอดจนสภาพแวดล้อมบางประการที่ถือว่าเป็นลักษณะถาวร (permanent soil characteristics) หรือ
เป็นลักษณะที่ยากต่อการเปลี่ยนแปลง และสามารถตรวจสอบได้ มาพิจารณาแบ่งดินออกเป็นหมวดหมู่ตาม
ข้อจ ากัดที่มีผลต่อการเจริญเติบโต และมีผลกระทบต่อผลผลิตของพืชแต่ละประเภทที่น ามาใช้ปลูก ลักษณะ
ต่าง ๆ เหล่านี ได้แก่ สภาพพื นที่ (topography) เนื อดิน (soil texture) ชั นอนุภาคดิน (particle size class)
ความลึกที่พบชั นดานแข็ง (depth to consolidated) ความลึกที่พบชั นลูกรัง (depth to gravel) หินโผล่
(rockiness) ก้อนหินโผล่ (stoniness) ความเค็มของดิน (salinity) การระบายน าของดิน (drainage)
อันตรายจากการถูกน าท่วม (flooding harzard) การมีน าแช่ขัง (water logging) การเสี่ยงต่อการขาดแคลน
น า (risk of moisture shortage) ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (fertility) ความเป็นกรดของดิน (acidity) หรือ
ความเป็นด่างของดิน (alkalinity) ความลึกที่พบชั นดินกรดก ามะถัน (depth acid sulfate layer) การกร่อน
ของดิน (erosion) และความหนาของชั นวัสดุอินทรีย์ (thickness of organic soil material)
(2) การจ าแนกความเหมาะสมของดิน จะจ าแนกตามความรุนแรงของข้อจ ากัดหรือ
อัตราเสี่ยงต่อความเสียหาย ถ้าน ามาใช้ปลูกพืชตามที่ได้ระบุไว้ ดังนั น ในแต่ละชั นความเหมาะสมของดินจะ
ประกอบไปด้วยชุดดิน (soil series) หรือประเภทของชุดดิน (phase of soil series) ชนิดต่างๆ ที่มีข้อจ ากัด