Page 30 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 30
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
18
มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนมากในด้านศักยภาพการใช้ประโยชน์ดินกับหน่วยดินหลัก ดินแต่ละชนิดที่
แตกต่างกันนั นเมื่อรวมกันไว้จะต้องมีเนื อที่ไม่เกินร้อยละ 10 ของพื นที่หน่วยดินหลัก ในแต่ละขอบเขตดิน
3.18.2 หน่วยสัมพันธ์
หน่วยสัมพันธ์ (associations) เป็นหน่วยแผนที่ที่ภายในขอบเขตนั นๆ มีดินตั งแต่ 2 ชนิด
ขึ นไปหรือดินกับพื นที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous areas) ซึ่งจะเกิดควบคู่กันเสมอ และมีความสัมพันธ์กัน
ในทางสภาพพื นที่ เช่น ดิน A พบอยู่บนที่ดอนและดิน B พบอยู่ในที่ลุ่ม แต่เนื่องจากข้อจ ากัดในเรื่องของ
มาตราส่วนแผนที่จึงไม่อาจแยกขอบเขตออกจากกันได้ โดยปกติจะก าหนดไว้ที่มาตราส่วน 1 : 24,000 หรือ
มาตราส่วนเล็กกว่า การให้ชื่อหน่วยแผนที่จะใช้ชื่อของดินหรือพื นที่เบ็ดเตล็ดที่พบเป็นชื่อหน่วยแผนที่ โดยชื่อ
ดินหรือพื นที่เบ็ดเตล็ดที่มีเนื อที่มากจะเขียนน าหน้า หากเขียนเป็นสัญลักษณ์จะใช้เครื่องหมาย “ / ” คั่น
และจะต้องแสดงสัดส่วนของดินหรือพื นที่เบ็ดเตล็ดที่พบในขอบเขตนั นๆ ด้วย เช่น A/B ในสัดส่วน 60/40
หรือ 70/30 หรือ A/B/C ในสัดส่วน 40/30/30
3.18.3 หน่วยเชิงซ้อน
หน่วยเชิงซ้อน (complexes) เป็นหน่วยแผนที่ที่ภายในขอบเขตนั นๆ มีดินตั งแต่ 2 ชนิด
ขึ นไป หรือดินกับพื นที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous areas) เช่นเดียวกับหน่วยสัมพันธ์ แม้ว่ามาตราส่วนของ
แผนที่จะใหญ่ขึ น (1 : 24,000 หรือมาตราส่วนใหญ่กว่า) ก็ยังไม่สามารถแยกขอบเขตของดินหรือพื นที่
เบ็ดเตล็ดเหล่านั นออกจากกันได้ อาจเนื่องจากการเกิดความซับซ้อนของพื นที่ การให้ชื่อหน่วยแผนที่จะใช้ชื่อ
ของดินหรือพื นที่เบ็ดเตล็ดทั งหมดที่พบ เป็นชื่อของหน่วยแผนที่ โดยดินหรือพื นที่เบ็ดเตล็ดที่มีเนื อที่มากจะ
เขียนน าหน้าและ เรียงกันไปตามล าดับ หากเขียนเป็นสัญลักษณ์จะใช้เครื่องหมาย “ – ” คั่น และต้องแสดง
สัดส่วนของดิน หรือพื นที่เบ็ดเตล็ดที่พบด้วย เช่น A-B ในสัดส่วน 60-40 หรือ 70-30 หรือ A-B-C ในสัดส่วน
40-30-30
3.18.4 หน่วยศักย์เสมอ
หน่วยศักย์เสมอ (undifferentiated group) เป็นหน่วยแผนที่ที่ภายในขอบเขตนั นๆ มีดิน
ตั งแต่ 2 ดินขึ นไป แต่ดินทั งหมดนั นไม่มีความแตกต่างในด้านของการน าไปใช้ประโยชน์และการจัดการดิน จึง
ไม่มีความจ าเป็นที่จะต้องแยกขอบเขตออกจากกัน การให้ชื่อหน่วยแผนที่ดินจะใช้ชื่อของดินทั งหมด โดยดินที่
พบที่มีเนื อที่มากจะเขียนน าหน้าและเรียงกันไปตามล าดับ หากเขียนเป็นสัญลักษณ์จะใช้เครื่องหมาย “ & ”
คั่น และแสดงสัดส่วนของดินที่พบด้วย เช่น A&B ในสัดส่วน 60&40 หรือ 70&30 หรือ A&B&C ในสัดส่วน
40&30&30