Page 39 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 39
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
27
ชั นความเหมาะสมที่ 3 ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ (soil moderately
suited)
ชั นความเหมาะสมที่ 4 ไม่เหมาะสมส าหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ (soil poorly suited)
ในการจัดชั นความเหมาะสมของดินแต่ละชั น ยกเว้นชั นความเหมาะสมที่ 1 จะระบุลักษณะและ
สมบัติดิน ที่มีผลต่อการเจริญเติบโต หรือผลผลิตของพืชที่ปลูก เรียกว่า ข้อจ ากัด (limitation) โดยจะระบุ
ชนิดของข้อจ ากัดตัวที่รุนแรงที่สุด ต่อท้ายชั นความเหมาะสมของดินนั นๆ
ชนิดของข้อจ ากัด หรือลักษณะของดินที่เป็นอันตรายหรือท าความเสียหายกับพืช ได้แก่
t : สภาพพื นที่ (topography)
s : เนื อดิน (texture) หรือชั นขนาดอนุภาคดิน (particle size class)
b : ชั นดินที่มีการชะล้างรุนแรง (albic horizon)
c : ความลึกที่พบชั นดานแข็งหรือชั นที่พบก้อนกรวดมากกว่า 60 เปอร์เซ็นต์
โดยปริมาตร (depth to consolidated layer)
g : ความลึกที่พบก้อนกรวด 35-60 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร (depth to gravelly
layer)
r : หินพื นโผล่ (rockiness)
z : ก้อนหินโผล่ (stoniness)
x : ความเค็มของดิน (salinity)
d : การระบายน าของดิน (drainage)
f : อันตรายจากการถูกน าท่วม (flooding)
w : อันตรายจากน าแช่ขัง (water logging)
m : ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน า (rick of moisture shortage)
n : ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (nutrient status)
a : ความเป็นกรดของดิน (acidity)
k : ความเป็นด่างของดิน (alkalinity)
j : ความลึกที่พบชั นดินกรดก ามะถัน (depth to acid sulfate layer)
e : การกร่อนของดิน (erosion)
o : ความหนาของชั นวัสดุดินอินทรีย์ (thickness of organic soil material)