Page 195 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 195

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      151


                 ที่ดินนี ควรจัดหาแหล่งน  าส ารองไว้ใช้ ทั งบ่อน  าในไร่นานอกเขตชลประทาน และแหล่งน  าสาธารณะขนาด

                 ต่างๆ หากมีพื นที่เหมาะสม เนื่องจากเป็นแหล่งที่เสี่ยงต่อการขาดแคลนน  า

                                    ส าหรับชนิดพืชที่เหมาะสมส าหรับปลูกในหน่วยแผนที่ดินนี  ควรใช้ปลูกข้าวไวแสง

                 และควรจัดการความสมดุลธาตุอาหารที่เหมาะสม โดยการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนอัตรา 9 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ย

                 โพแทสเซียมอัตรา 6 กิโลกรัมต่อไร่ หรือใสปุ๋ยสูตร 46-0-0 และ 0-0-6 ในอัตราอย่างละ 10 กิโลกรัมต่อไร่

                 ในช่วงปักด า หรือหลังจากข้าวงอก 15-20 วัน ส าหรับนาหว่าน และควรใส่ปุ๋ยครั งที่ 2 เมื่อข้าวเริ่มก าเนิดช่อ

                 ดอก ด้วยปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพการผลิตข้าว

                                    การปลูกพืชหลังนา ควรเลือกชนิดพืชที่เหมาะสมกับพื นที่ โดยเฉพาะพืชที่อายุสั น

                 หรือมีช่วงอายุที่เหมาะสมกับปริมาณความชื นที่มีอยู่ในดิน หรือพืชที่ทนต่อสภาพความแห้งแล้งได้ดี หากใช้

                 พื นที่นี ปลูกพืชหลังนา ควรรีบด าเนินการหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวออกจากนาทันที เนื่องจากเป็นช่วงที่ยังมี

                 ความชื นหลงเหลือในดิน โดยพืชที่นิยมปลูกและเหมาะสมส าหรับหน่วยแผนที่ดินนี  ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเขียว

                 ถั่วเหลือง หรือแม้แต่ถั่วลิสง เป็นต้น

                                    (2) การปรับปรุงดินทรายในพื นที่ดอน ในหน่วยแผนที่ Msk-lsB/d ,E  เนื่องจากเป็น
                                                                                           5 2
                 ดินทรายหนา ความสามารถในการดูดยึดความชื นและธาตุอาหารในดินได้ต่ า มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เสี่ยงต่อ

                 การขาดแคลนน  า เกิดการชะล้างพังทลายของดินได้ง่าย ดังนั นควรใช้มาตรการจัดการดินแบบผสมผสานเช่น

                 การปรับปรุงโครงสร้างดินด้วยอินทรียวัตถุ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ก่อนการปลูกพืชหลัก

                 ซึ่งอาจเป็นพืชไร่ หรือไม้ผล โดยการจัดการจะแตกต่างกันไปตามชนิดพืช ส าหรับการจัดการดินเพื่อการปลูก

                 อ้อยหรือมันส าปะหลัง ควรเพิ่มอินทรียวัตถุ หรือปุ๋ยหมัก อัตรา 1-3 ตันต่อไร่  หรือปุ๋ยพืชสดตระกูลถั่ว พวก

                 ปอเทือง ถั่วพุ่มและถั่วพร้า อัตรา 3-5 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านให้ทั่วแปลงแล้ว ปลูกจนกระทั่งออกดอกแล้วไถ

                 กลบ ส าหรับการจัดการดินเพื่อการปลูกอ้อย ควรจัดการดินด้วยอินทรียวัตถุและพืชปุ๋ยสดในอัตราเดียวกันกับ

                 การจัดการดินเพื่อปลูกมันส าปะหลัง ผสมผสานกับการปลูกพืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วเขียว ถั่วเหลือง หรือ

                 ข้าวโพดหวาน ระหว่างร่องอ้อยในช่วงที่อายุ 1-3 เดือน เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพในการใช้พื นที่และการ

                 ปรับปรุงบ ารุงดิน และควรใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 ร่วมด้วยเพื่อเพิ่มสมดุลธาตุอาหารในดิน ในอัตรา 100

                 กิโลกรัมต่อไร่ โดยการแบ่งใส่ 3 ครั ง คือ ปุ๋ยรองพื นพร้อมปลูก หลังจากนั นใส่เมื่ออ้อยอายุได้ 1 เดือน และ

                 ครั งสุดท้ายใส่เมื่ออ้อยมีอายุได้ 3 เดือน

                                    การปรับปรุงดินทรายเพื่อการปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้น ควรเติมอินทรียวัตถุ ปุ๋ยคอก

                 หรือปุ๋ยหมักในอัตรา 3-5 กิโลกรัมต่อหลุม ก่อนปลูกหรือช่วงเตรียมหลุมปลูก หลังจากนั นช่วงการใส่ ชนิดปุ๋ย

                 และอัตราที่ใส่แตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดพืช ส าหรับมะพร้าว ควรใส่ปุ๋ยแม็กนีเซียม อัตรา 200-500 กรัม
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200