Page 193 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 193

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      149


                                    ส าหรับการแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายระดับเล็กน้อยถึงปานกลางของดินใน

                 พื นที่ลุ่ม ในหน่วยแผนที่ Kss-hb-lsA/d ,E  Kts-lsA/d ,E และ Kkn-lsA/d ,E ที่มีสภาพพื นที่ค่อนข้าง
                                                                                 5 1
                                                                5 2
                                                   5 1
                 ราบเรียบ สามารถท าได้ทั งวิธีกลและวิธีพืชควบคู่กันไป เช่น การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1 เพื่อเสริมคัน
                 ดินให้ใหญ่ขึ นและเสริมความแข็งแรงของคันดินด้วยการปลูกหญ้าแฝก ให้สามารถต้านทานต่อการกัดเซาะ

                 ของน  าในฤดูน  าหลากได้


                                    (2) ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ าในดอนท าไร่ ที่มีสภาพดินเป็นกรด เช่น ในหน่วย

                 แผนที่ Cpr-lsB/d ,E  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินต่ ากว่า 5.5 ที่ใช้ปลูกอ้อยและมันส าปะหลัง ควรมี
                                5 1
                 การปรับปรุงดินด้วยปูนโดโลไมท์ในอัตรา 200-300 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนแล้วจึงตามด้วยการเติมปุ๋ยหมักหรือ

                 ปุ๋ยคอก ในอัตรา 3-4 ตันต่อไร่ แล้วให้ปุ๋ยเคมีสูตร 32-8-16 หรือ 24-12-24 ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่

                 ส าหรับในหน่วยแผนที่ Msk-lsB/d ,E  ควรปรับปรุงโดยการใส่ปุ๋ยหมัก อัตรา 3-4 ตันต่อไร่ ควบคู่กับการใช้
                                             5 2
                 ปุ๋ยเคมีสูตร 32-8-16 หรือ 24-12-24 ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่

                                     ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ าในที่ดอนปลูกไม้ผล เช่น มะม่วง และ มะพร้าว ควร

                 ปรับปรุงเคมีของดินโดยการเติมปูนโดโลไมท์ในหน่วยแผนที่ Cpr-lsB/d ,E  ในอัตรา 500-700 กิโลกรัมต่อไร่
                                                                           5 1
                 แล้วปรับปรุงโครงสร้างดินด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักในอัตรา 3-5 กิโลกรัมต่อหลุม หรือใส่บริเวณทรงพุ่มใน

                 อัตรา 20-50 กิโลกรัมต่อต้น รวมทั งการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 หรือสูตร 12-24-12 ในอัตราตั งแต่ 1-3

                 กิโลกรัมต่อต้น ขึ นอยู่กับช่วงอายุของมะม่วง

                                    การแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดินในพื นที่ดอน ในหน่วยแผนที่

                 Cpr-lsB/d ,E ที่มีสภาพความลาดเทเล็กน้อยประมาณ 2-5 เปอร์เซ็นต์ ควรจัดการด้วยวิธีกลที่เหมาะสม
                          5 1
                 เช่น ท าแนวคันดินหรือการปลูกพืชขวางความลาดเทของพื นที่ บริเวณร่องทางน  าที่ไหลจากที่ดอนท าไร่ ลงสู่

                 พื นที่ลุ่มท านา นอกจากนี วิธีพืชที่เหมาะสมและสามารถท าได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกวิธีหนึ่งคือการปลูกพืช

                 แบบสลับขวางความลาดเท (strip cropping system) วิธีนี นอกจะช่วยในการปกคลุมหน้าดินแล้วยังช่วย

                 ป้องกันไม่ให้เม็ดฝนตกกระแทกกับเม็ดดินโดยตรงอีกด้วย นอกจากนี ในพื นที่ ควรมีการจัดท าระบบอนุรักษ์

                 ดินและน  าโดยการท าแนวคันดินเบนน  า เพื่อชะลอความเร็วของน  าไหล

                                    ส าหรับการแก้ไขปัญหาพื นที่เสี่ยงต่อการขาดแคลนน  าในหน่วยแผนที่ดินนี  ควร

                 จัดหาแหล่งส ารองน  า หรือการสร้างแหล่งน  าสาธารณะที่ต้องใช้พื นที่ขนาดใหญ่ เพื่อให้รองรับน  าไว้ให้

                 เกษตรกรได้ใช้อย่างเพียงพอ แล้วจัดท าระบบชลประทานระบบท่อ ให้ครอบคลุมพื นที่ใช้น  า ตลอดจนการ

                 จัดหาแหล่งน  าขนาดเล็กในไร่นานอกเขตชลประทานให้แก่เกษตรกรรายบุคคล เพื่อส ารองน  าไว้ใช้ในยาม

                 ฉุกเฉิน หากเกิดภาวะฝนทิ งช่วงยาวนาน ส่วนมาตรการด้านพืช ควรส่งเสริมเกษตรกรหันมาปลูกพืช
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198