Page 194 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 194

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      150


                 เหมาะสมกับพื นที่ ได้แก่ การปลูกอ้อยหรือมันส าปะหลัง นอกจากนี ควรส่งเสริมเกษตรกรให้รู้จักวางแผนหรือ

                 จัดท าตารางการปลูกพืชให้สอดคล้องกับสภาพปริมาณน  าที่พึงมีและช่วงเวลาที่เหมาะสม สอดคล้องกับช่วง

                 ฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก

                                ส าหรับมาตรการระยะยาวนั นควรพิจารณาถึงการสร้างระบบนิเวศป่าไม้ชุมชน โดยการ

                 รณรงค์จัดกิจกรรมปลูกป่าไม้ชุมชน เนื่องจากป่าไม้เป็นปัจจัยส าคัญที่มีผลต่อการสร้างสมดุลของบรรยากาศ

                 และสร้างความชุ่มชื นแก่ดินในระบบนิเวศใกล้เคียง และป่าไม้ยังมีส่วนช่วยให้หมุนเวียนความชื นใน

                 บรรยากาศและเหนี่ยวน าให้เกิดฝนตกต้องตามฤดูกาลอีกด้วย

                                2) ปัญหาดินเป็นทรายจัด มีเนื อที่รวมประมาณ 1,386 ไร่ หรือร้อยละ 33.55 ของพื นที่

                 ด าเนินการ สามารถจ าแนกออกตามสภาพพื นที่ได้ดังนี

                                    (1) ดินทรายในพื นที่ลุ่ม มีเนื อที่ประมาณ 459 ไร่ หรือร้อยละ 11.11 ของพื นที่

                 ด าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ub-lsA/d ,E
                                                   5 1
                                    (2) ดินทรายบนพื นที่ดอน มีเนื อที่ประมาณ 927 ไร่ หรือร้อยละ 22.44 ของพื นที่

                 ด าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Msk-lsB/d ,E
                                                   5 2
                                แนวทางการแก้ไขปัญหา

                                    (1) การแก้ไขปัญหาดินทรายจัดในที่ลุ่ม ในหน่วยแผนที่ Ub-lsA/d ,E ซึ่งเป็นดินที่มี
                                                                                           5 1
                 องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นอนุภาคทรายมากกว่าร้อยละ 85 และปริมาณแร่ดินเหนียวน้อยกว่าร้อยละ 15 จึง

                 มีผลต่อความสามารถในการอุ้มน  าและแร่ธาตุอาหารเอาไว้ในดินได้ต่ า การแก้ปัญหาหลักของหน่วยแผนที่นี จึง

                 ควรเป็นเรื่องของการปรับปรุงโครงสร้างดิน ด้วยการเติมอินทรียวัตถุ ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก ในอัตราที่

                 เหมาะสม 2-3 ตันต่อไร่ ทั งนี เพื่อช่วยเพิ่มความสามารถของดินดังกล่าว ควบคู่กับการปรับปรุงบ ารุงดินด้วย

                 การปลูกพืชปุ๋ยสดตระกูลถั่วแล้วไถกลบ เพื่อเพิ่มปริมาณธาตุไนโตรเจนให้แก่ดิน นอกจากนี ยังควรเพิ่มความ

                 สมดุลธาตุอาหารด้วยการเติมปุ๋ยเคมี ให้ธาตุอาหารสามารถหมุนเวียนอยู่ในดินแก่ระบบนิเวศ ตลอดจนเป็น

                 การเพิ่มมวลชีวภาพให้แก่ระบบนิเวศของดินอันหมายถึงการสร้างสิ่งมีชีวิตในดินให้มีมากขึ นและสมดุล

                 สามารถสร้างเส้นใยธรรมชาติให้เกาะยึดเม็ดทราย เกิดเป็นก้อนดินที่ช่วยในการดูดยึดน  าและธาตุอาหารในดิน

                 ไม่ให้หลุด สูญเสียหรือถูกชะล้างออกไปจากดินได้ง่าย ในขณะเดียวกันยังช่วยเกาะยึดเม็ดดินไม่ให้ถูกกัดเซาะ

                 โดยน  าได้ง่าย ลดการชะล้างพังทะลายของดินอีกทางหนึ่งในเชิงของปัจจัยเสริมทางชีวภาพ

                                    ส าหรับมาตรการทางวิธีกลที่มีประสิทธิภาพ ทั งในเชิงของการเพิ่มศักยภาพของพื นที่

                 ในการกักเก็บน  าได้มากขึ นและการช่วยลดความเสี่ยงจากการขาดน  าของพืช ได้แก่ การปรับรูปแปลงนา

                 ลักษณะที่ 1 เนื่องจากพื นที่นี มีสภาพไม่ค่อยราบเรียบหรือพื นที่ไม่ค่อยสม่ าเสมอ นอกจากนี  ในหน่วยแผน
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199