Page 192 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 192

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      148

                 หมายเหตุ  a  :  การจ าแนกดินตามระบบ Unifed

                           d  :  การระบายน  าของดิน (drained)

                           f   :  อันตรายจากการถูกน  าท่วม (flooding)

                           h  :  ความลึกของระดับน  าใต้ดินในฤดูฝน (depth to seasonal/water table)

                           k  :  ความซึมน  าของดิน (permeability class)

                           s  :  เนื อดิน (texture)

                           t  :  ความลาดชันและความลึกถึงชั นหินพื น (slope and depth to bedrock)



                           7.3.10 สภาพปัญหาที่พบในพื นที่ด้าเนินการและข้อเสนอแนะ

                            จากการส ารวจเก็บข้อมูลและวิเคราะห์สภาพปัญหาทรัพยากรดิน สามารถจ าแนกสภาพปัญหา

                 ของดินบริเวณพื นที่ด าเนินการ ได้ดังนี

                                1) ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า มีเนื อที่รวมประมาณ 2,256 ไร่ หรือร้อยละ 54.63

                 ของพื นที่ด าเนินการ สามารถจ าแนกออกตามสภาพพื นที่ได้ดังนี

                                    (1) ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ าในพื นที่ลุ่ม มีเนื อที่ประมาณ 1,397 ไร่ หรือร้อยละ

                 33.83 ของพื นที่ด าเนินการ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Kkn-lsA/d ,E  Kts-lsA/d ,E และ Kss-hb-lsA/d ,E
                                                                                                 5 1
                                                                 5 1
                                                                             5 2
                                    (2) ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ าบนพื นที่ดอน มีเนื อที่ประมาณ 859 ไร่ หรือร้อยละ
                 20.80 ของพื นที่ด าเนินการได้แก่ หน่วยแผนที่ Cpr-lsB/d ,E
                                                                5 1
                                แนวทางการแก้ไขปัญหา

                                    (1) ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ าในพื นที่ลุ่ม โดยการปรับปรุงบ ารุงดินด้วยปุ๋ยคอก

                 หรือปุ๋ยหมัก หรือการไถกลบตอซังพืชตามเทคโนโลยีของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อกระตุ้นการสร้างมวลชีวภาพ

                 หรือสิ่งมีชีวิตในดิน เช่น เชื อราแอคติโนไมซีทส์ (actinomycetes) ให้สร้างเส้นใยยึดเกาะเม็ดดิน ท าให้เกิด

                 การรวมตัวของเม็ดดินเกิดเป็นก้อนดิน (aggregation) เพิ่มความสามารถของดินให้ดูดยึดความชื นและธาตุ

                 อาหาร ไม่ให้สูญเสียออกไปจากดินได้ง่าย อีกทั งอินทรียวัตถุจะเป็นแหล่งสะสมและดูดซับธาตุอาหารพืชใน

                 ดิน เพื่อปลดปล่อยหรือหมุนเวียนธาตุอาหารสู่สารละลายดินให้พืชดูดใช้ โดยอัตราการใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก

                 ที่เหมาะสมตามค่าวิเคราะห์ดินหรือตามศักยภาพของดิน ในอัตรา 2-3 ตันต่อไร่ ควบคู่กับการใช้ปุ๋ยเคมีใน

                 สูตรและอัตราที่เหมาะสม ส าหรับในพื นที่ลุ่มท านา ในหน่วยแผนที่ Kss-hb-lsA/d ,E  Kkn-lsA/d ,E  และ
                                                                                     5 1
                                                                                                  5 1
                 Kts-lsA/d ,E  ควรใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 18-6-12 หรือ 20-20-20 ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ และใช้ปุ๋ยแต่งหน้า
                         5 2
                 สูตร 46-0-0 ในอัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ หรือในพื นที่ปลูกพืชไร่หลังนา เช่น ข้าวโพด และถั่วลิสง ควรใช้ปุ๋ย

                 สูตร 12-24-24 ในอัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ สูตร 20-20-20 ในอัตรา 22 กิโลกรัมต่อไร่
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197