Page 40 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        28





                                6.2.3  การวิเคราะห์การด าเนินงาน พื นที่ด าเนินการ
                                       1)  การเตรียมงานในส านักงาน

                                            -  จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการส้ารวจดิน ได้แก่ สมุดเทียบสี สว่านเจาะดิน
                  พลั่วขุดดิน ฆ้อนยางตอกดิน มีดสนาม แว่นขยาย เทปวัดระยะ เข็มทิศ สมุดบันทึก และอื่น ๆ ให้พร้อม

                  ส้าหรับการด้าเนินงาน

                                            - จัดเตรียมแผนที่ต่างๆ ได้แก่ แผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข แผนที่ภูมิ
                  ประเทศ แผนที่ป่าไม้ แผนที่ชลประทาน แผนที่สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน แผนที่ธรณีวิทยา และแผนที่ดิน

                                            - ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ข้อมูลดิน ข้อมูลทางธรณีวิทยา ร่วมกับ

                  การแปลข้อมูลในแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000 เพื่อก้าหนดขอบเขตพื้นที่ด้าเนินการ
                  ลักษณะภูมิประเทศ ความลาดชัน ถนน เส้นทางน้้า และการใช้ที่ดิน เพื่อให้ทราบถึงสภาพพื้นที่และ

                  วิเคราะห์พื้นที่เพื่ออนุมานลักษณะและสมบัติของดินในพื้นที่ศึกษา
                                            - เขียนขอบเขตดินเบื้องต้นเพื่อก้าหนดจุดเจาะส้ารวจดินในแผนที่ ภาพถ่าย

                  ออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000  พร้อมทั้งก้าหนดจุดเจาะส้ารวจเพิ่มเติมให้ได้ระยะห่างในพื้นที่จริง
                  ประมาณ 100-200 เมตรต่อหลุม

                                            - แปลสภาพการใช้ที่ดิน เขียนขอบเขตสภาพการใช้ที่ดินเบื้องต้น

                                      2)  การปฏิบัติงานในภาคสนาม
                                            การส้ารวจดินและการส้ารวจสภาพการใช้ที่ดิน เป็นการส้ารวจแบบละเอียด

                  โดยใช้แผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน  1:4,000 และแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน  1:50,000

                  เป็นแผนที่พื้นฐานในการส้ารวจ แผนที่ดินที่ผลิตออกมามีมาตราส่วน 1:4,000 โดยมีวิธีการส้ารวจดังนี้
                                            - เจาะส้ารวจดินตามจุดที่ก้าหนดไว้ในแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข หรือใน

                  บริเวณพื้นที่ที่มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจน โดยใช้สว่านเจาะดินลึก  200 เซนติเมตร หรือถึงชั้น
                  เชื่อมแข็งหรือแนวสัมผัสชั้นหินพื้น วางเรียงกันตามความลึก เพื่อตรวจศึกษาสมบัติทางเคมีและทาง

                  กายภาพของดินทุกจุดด้วยเครื่องมือตรวจวัดภาคสนาม
                                            - บันทึกสภาพแวดล้อมบริเวณพื้นที่ศึกษา  ได้แก่  วัตถุต้นก้าเนิดดิน ภูมิ

                  สัณฐาน ความลาดชัน การกร่อนของหน้าดิน การระบายน้้าของดิน ความสามารถให้น้้าซึมผ่านของดิน

                  ระดับน้้าใต้ดิน สภาพน้้าท่วมขัง พืชพรรณและการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                            - ศึกษาลักษณะสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดิน เช่น ความหนาของ

                  ชั้นดิน เนื้อดิน สีดิน โครงสร้างของดิน การยึดตัวของอนุภาคดิน การเคลื่อนย้ายของอนุภาคดินเหนียว

                  ปริมาณการกระจายของรากพืช ค่าปฏิกิริยาดิน การจัดเรียงตัวของชั้นดิน ชนิดของชิ้นส่วนหยาบในดิน หรือ
                  วัตถุต่างๆ ที่พบในชั้นดิน เช่น ก้อนกรวด ลูกรังและเศษหิน เป็นต้น

                                            - จ้าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil  Survey  Staff,  2014) ใน
                  ระดับประเภทของชุดดินและดินคล้าย (phases of soil series or soil variants) เขียนหน่วยแผนที่ดินลง
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45