Page 31 - รายงานการศึกษากระบวนการดำเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำดำเนินงานตามบทบัญญัติมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 31
3-6
ชั้นที่ 5 ปริมาณก๎อนหินครอบคลุมเนื้อที่ร๎อยละ 50 ถึง 90 ก๎อนหินขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหําง
กันน๎อยกวํา 0.03 เมตร หากเป็นก๎อนหินมนใหญํขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหํางกันน๎อยกวํา 0.05 เมตร และ
ไมํสามารถใช๎เครื่องจักรกลในการปฏิบัติงาน
3.3.5 หินพื้นโผล่ (Rock outcrop)
หินพื้นโผลํ หมายถึง หินพื้นสํวนที่โผลํเหนือระดับผิวดิน เป็นอุปสรรคตํอการใช๎ประโยชน์
มากกวําก๎อนหินที่อยูํบนผิวดิน เนื่องจากไมํสามารถเคลื่อนย๎ายได๎จะแสดงสัญลักษณ์ไว๎ในแผนที่ดิน
(Rock outcrop: RC) (ตารางที่ 3-2)
ตารางที่ 3-2 ชั้นของหินพื้นโผล่ตามปริมาณที่พบในพื้นที่
ชั้น ชื่อ ร้อยละการแจกกระจายในพื้นที่
1 Slightly rocky (Sr) ≤0.1
2 Rocky (R) 0.1-2
3 Very rocky (Vr) 2-10
4 Extremely rocky (Xr) 10-50
5 Excessively rocky (Er) 50-90
6 Rock outcrop (RC) ≥90
3.3.6 การกร่อนของดิน (Soil erosion)
การกรํอน หมายถึง การสึกของผิวหน๎าดินโดยตัวการตํางๆ เชํน ฝน น้้าชลประทาน ลม น้้าแข็ง
หรือการกระท้าของมนุษย์ที่ท้าให๎มีการครูดถู การแตกกระจาย และการเคลื่อนย๎ายดินหรือหิน จากจุดใดจุดหนึ่ง
บนผิวโลกไปทับถมกันในที่อื่น รวมทั้งการคืบของดินและการกรํอนเนื่องจากการไถพรวน (ตารางที่ 3-3)
ตารางที่ 3-3 ชั้นของการกร่อน (Degree of erosion classes)
ชั้น สัญลักษณ์ ค าอธิบาย ร้อยละการสูญเสียของชั้นดิน*
1 E0 ไมํมีการกรํอน (Non eroded) 0
2 E1 กรํอนเล็กน๎อย (Slightly eroded) <25
3 E2 กรํอนปานกลาง (Moderately eroded) 25-75
4 E3 กรํอนรุนแรง (Severe eroded) >75
5 E4 กรํอนรุนแรงมาก (Very severe eroded) 100
หมายเหตุ: * ร๎อยละการสูญเสียของชั้นดิน A และ/หรือชั้น E หรือของชั้นดินตอนบน 20 เซนติเมตร (ถ๎าชั้นดิน A
และ/หรือชั้นดิน E ดั้งเดิมมีความหนาน๎อยกวํา 20 เซนติเมตร)
กองนโยบายและแผนการใช๎ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน