Page 29 - รายงานการศึกษากระบวนการดำเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำดำเนินงานตามบทบัญญัติมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 29

3-4






                  3.3  ประเภทของชุดดิน (Phases of Soil Series)

                      เนื่องจากการส้ารวจดินครั้งนี้เป็นการส้ารวจดินในระดับคํอนข๎างละเอียดถึงละเอียด เพื่อใช๎ในการ
                  ประเมินศักยภาพของพื้นที่เบื้องต๎น การก้าหนดหนํวยแผนที่ดินต๎องมีรายละเอียดพอที่จะสามารถบํงบอก

                  ถึงสภาพปัญหาของดินในพื้นที่และแนวทางการจัดการดินที่สามารถน้าไปปฏิบัติได๎ จึงต๎องน้าเอา

                  ประเภทของชุดดินมาใช๎ ประเภทของชุดดินเป็นการอธิบายถึงลักษณะของดินและสภาพแวดล๎อม
                  ที่เกี่ยวข๎องกับการจัดการดิน ได๎แกํ ชนิดของเนื้อดินบน ความลาดชันของพื้นที่ ความลึกของดิน ปริมาณก๎อนหิน

                  บนผิวดินหรือหินพื้นโผลํ เป็นต๎น

                      3.3.1   เนื้อดินบน (Soil surface texture)
                            เนื้อดินบน หมายถึง เนื้อดินตอนบนเฉลี่ยตั้งแตํผิวดินจนถึงความลึก 25 เซนติเมตร เนื้อดิน

                  แสดงถึงสัดสํวนสัมพัทธ์เป็นร๎อยละโดยน้้าหนักของอนุภาคที่มีขนาดเส๎นผํานศูนย์กลางเล็กกวํา

                  2 มิลลิเมตร ซึ่งประกอบด๎วยทราย ทรายแป้งและดินเหนียว เนื้อดินบนใช๎ในการประเมิน

                  ความสามารถของดินในการดูดยึดน้้าและธาตุอาหาร ส้าหรับเนื้อดินบนที่แสดงไว๎เป็นการประมาณคํา
                  ในสนามโดยใช๎ความรู๎สึกสัมผัส ชั้นเนื้อดินบนมีดังตํอไปนี้ ทราย (Sand) ทรายปนดินรํวน (Loamy sand)

                  ดินรํวนปนทราย (Sandy loam) ดินรํวน (Loam) ดินทรายแป้ง (Silt) ดินรํวนปนทรายแป้ง (Silt loam)

                  ดินรํวนเหนียวปนทรายแป้ง (Silty  clay  loam)  ดินเหนียวปนทรายแป้ง (Silty  clay)  ดินรํวนเหนียว

                  (Clay loam) ดินรํวนเหนียวปนทราย (Sandy clay loam) ดินเหนียวปนทราย (Sandy clay) และดินเหนียว (Clay)
                      3.3.2   ความลาดชันของพื้นที่ (Slope)

                            ความลาดชันของพื้นที่ หมายถึง สภาพพื้นที่ที่มีการเบี่ยงเบนหรือเอียงไปจากแนวระนาบ

                  ใช๎หนํวยเป็น ร๎อยละ (%) ซึ่งในการส้ารวจดินได๎แบํงความลาดชันของพื้นที่ออกเป็น 8 ชั้น (ตารางที่ 3-1)

                  ตารางที่ 3-1 การจ าแนกความลาดชันของพื้นที่


                    ชั้น    ร้อยละของความลาดชัน                          ค าอธิบาย

                    A                0-2            ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ (Level to nearly level)
                    B                2-5            ลาดชันเล็กน๎อยมาก (Very gently sloping)

                    C               5-12            ลาดชันเล็กน๎อย (Gently sloping)

                    D              12-20            ลาดชันสูง (Strongly sloping)
                    E              20-35            สูงชันปานกลาง (Moderately steep)

                    F              35-50            สูงชัน (Steep)

                    G              50-75            สูงชันมาก (Very steep)
                    H               >75             สูงชันที่สุด (Extremely steep)







                                                                        กองนโยบายและแผนการใช๎ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34