Page 30 - รายงานการศึกษากระบวนการดำเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำดำเนินงานตามบทบัญญัติมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 30
3-5
3.3.3 ความลึกของดิน (Soil depth)
ความลึกของดิน หมายถึง ความลึกของดินถึงชั้นที่ขัดขวางการเจริญเติบโตของราก ได๎แกํ
ชั้นหินพื้นหรือชั้นที่มีปริมาณกรวด เศษหิน หรือลูกรังหนาแนํนมากตั้งแตํร๎อยละ 35 โดยปริมาตรขึ้นไป
แบํงออกเป็น 5 ชั้น ดังนี้
ดินตื้นมาก (d1) พบชั้นที่ขัดขวางการเจริญเติบโตของราก ตื้นกวํา 25 เซนติเมตร จากผิวดิน
ดินตื้น (d2) พบชั้นที่ขัดขวางการเจริญเติบโตของรากในชํวง 25-50 เซนติเมตร จากผิวดิน
ดินลึกปานกลาง (d3) พบชั้นที่ขัดขวางการเจริญเติบโตของรากในชํวง 50-100 เซนติเมตร จากผิวดิน
ดินลึก (d4) พบชั้นที่ขัดขวางการเจริญเติบโตของรากในชํวง 100-150 เซนติเมตร จากผิวดิน
ดินลึกมาก (d5) พบชั้นที่ขัดขวางการเจริญเติบโตของราก ลึกกวํา 150 เซนติเมตร จากผิวดิน
3.3.4 ก้อนหินบนผิวดิน (Rockiness)
ก๎อนหินบนผิวดินในที่นี้ หมายถึง ก๎อนหินที่มีขนาดใหญํกวํา 25 เซนติเมตร ซึ่งแบํง
ออกเป็น 2 กลุํม คือ ก๎อนหิน (Stone) มีขนาดใหญํกวํา 25 เซนติเมตร จนถึง 60 เซนติเมตร และก๎อนหินมนใหญํ
(Boulder) ที่มีขนาดตั้งแตํ 60 เซนติเมตร ขึ้นไป ก๎อนหินและก๎อนหินมนใหญํที่พบบริเวณผิวดิน
อาจเป็นอุปสรรคตํอการเขตกรรมหรือการใช๎เครื่องจักรกลในการจัดการดิน ทั้งนี้ขึ้นอยูํกับปริมาณ
ขนาดและระยะระหวํางก๎อนหินนั้นๆ ซึ่งได๎มีการแบํงออกเป็นชั้นๆ ดังนี้
ชั้นที่ 1 ปริมาณก๎อนหินครอบคลุมพื้นที่ร๎อยละ 0.01 ถึง 0.1 ก๎อนหินขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหํางกัน
อยํางน๎อยประมาณ 8 เมตร หากเป็นก๎อนหินมนใหญํขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหํางกันอยํางน๎อย ประมาณ
20 เมตร ก๎อนหินเหลํานี้จะท้าให๎เครื่องมือหรือเครื่องจักรกลเสียหายบ๎างเล็กน๎อย แตํพาหนะที่ใช๎ในการ
เขตกรรมโดยทั่วไปยังสามารถเคลื่อนที่ไปได๎อยํางอิสระ
ชั้นที่ 2 ปริมาณก๎อนหินครอบคลุมเนื้อที่ร๎อยละ 0.1 ถึง 3 ก๎อนหินขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหําง
จากกันไมํน๎อยกวํา 1 เมตร หากเป็นก๎อนหินมนใหญํขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหํางกันไมํน๎อยกวํา 3 เมตร
ปริมาณก๎อนหินมากจนเป็นอุปสรรคตํอการเคลื่อนที่ อาจต๎องใช๎เครื่องจักรกลหนักหรือที่มีขนาดเล็ก
ที่สามารถปฏิบัติงานระหวํางก๎อนหินได๎
ชั้นที่ 3 ปริมาณก๎อนหินครอบคลุมเนื้อที่ร๎อยละ 3 ถึง 15 ก๎อนหินขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหํางกัน
ประมาณ 0.5 เมตร หากเป็นก๎อนหินมนใหญํขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหํางกันประมาณ 1 เมตร จ้าเป็นต๎องใช๎
เครื่องจักรกลชนิดพิเศษและปฏิบัติงานเฉพาะบริเวณที่ก้าหนด
ชั้นที่ 4 ปริมาณก๎อนหินครอบคลุมเนื้อที่ร๎อยละ 15 ถึง 50 ก๎อนหินขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหํางกัน
ประมาณ 0.3 เมตร หากเป็นก๎อนหินมนใหญํขนาดเล็กที่สุดจะอยูํหํางกันประมาณ 0.5 เมตร บางแหํง
อาจก๎าวหรือกระโดดถึงกันได๎ และไมํสามารถใช๎เครื่องจักรกลในการปฏิบัติงาน
การศึกษากระบวนการด้าเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้้า ตาม พ.ร.บ. พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551