Page 36 - รายงานการศึกษากระบวนการดำเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำดำเนินงานตามบทบัญญัติมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 36

3-9





                      3.4.2   ระบอบความชื้นในดิน (Soil moisture regime)

                            ความชื้นในดินที่ใช๎ในระบบอนุกรมวิธานดิน ได๎น้ามาใช๎เป็นบรรทัดฐานในการจ้าแนกดิน

                  ในระดับอันดับยํอย (Suborder)  และกลุํมยํอย (Subgroup)  ในประเทศไทยสามารถจ้าแนก ระบอบ

                  ความชื้นในดินได๎ 3 ประเภท ได๎แกํ
                            ความชื้นในดินระดับ Aquic หมายถึง ระดับความชื้นของดินที่ดินอิ่มตัวด๎วยน้้า โดยไมํมีออกซิเจน

                  ละลายปนอยูํ สภาพอิ่มตัวด๎วยน้้านี้จะต๎องปรากฏเป็นประจ้าและเดํนชัดในชํวงเวลาใดเวลาหนึ่งในรอบปี

                  ลักษณะหน๎าตัดของดินจะแสดงวํามีรํองรอยของน้้าขังแฉะ และมีสีจุดประ สีพื้นของดินจึงมักมีสีเทา
                  หรือเทาอํอน ในบางกรณีดินจะอิ่มตัวด๎วยน้้าเกือบตลอดปี ซึ่งระดับน้้าใต๎ดินจะอยูํใกล๎ผิวดิน

                            ความชื้นในดินระดับ Udic หมายถึง ในรอบปีหนึ่ง ๆ ระดับความชื้นของดินจะอยูํในสภาพแห๎ง

                  ในสํวนใดสํวนหนึ่งนานน๎อยกวํา 90 วัน เมื่อนับรวมกันตลอดทั้งปี ถ๎าอุณหภูมิดินเฉลี่ยที่ความลึก                                                  3-8

                  50 เซนติเมตร จากผิวดิน น๎อยกวํา 22 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิดินเฉลี่ยระหวํางฤดูร๎อนและฤดูหนาว
                  ตํางกัน 5 องศาเซลเซียส หรือมากกวํา ส้าหรับประเทศไทย พบบริเวณแถบอากาศชุํมชื้น (Humid) ซึ่ง

                  มีการกระจายของฝนดี ตกสม่้าเสมอและตกในฤดูร๎อนบ๎าง มีปริมาณเพียงพอที่ดินสามารถเก็บ

                  ความชื้นไว๎ได๎นานมากกวําปริมาณที่สูญเสีย โดยการระเหยจากดินและจากทางใบของพืช
                            ความชื้นในดินระดับ Ustic หมายถึง ในรอบปีหนึ่งๆ ระดับความชื้นของดินจะถูกจ้ากัด

                  ส้าหรับการเจริญเติบโตของพืชในบางชํวงเวลา ดินจะแห๎งถึงจุดเหี่ยวเฉาติดตํอกันเกินกวํา 45 วัน ในรอบปี

                  หรือวันแห๎งสะสมกันเกินกวํา 90 วัน ในรอบปี
                            ส้าหรับระบอบความชื้นในดินบริเวณพื้นที่สูง หากมีระดับความสูงจากระดับทะเลน๎อยกวํา

                  1,000 เมตร ก้าหนดให๎มีระบอบความชื้นแบบ Ustic หากมีระดับความสูงจากระดับทะเล มากกวํา

                  1,000 เมตร ก้าหนดให๎มีระบอบความชื้นแบบ Udic (กองส้ารวจและจ้าแนกดิน, 2536) ซึ่งเป็นการก้าหนด
                  ในกรอบกว๎างๆ เทํานั้น ส้าหรับในการปฏิบัติงานในแตํละพื้นที่ ต๎องพิจารณาในพื้นที่นั้นๆ เป็นหลัก

                  เนื่องจากอาจมีสภาพความชื้นเป็นแบบเฉพาะพื้นที่ได๎ (Micro climate)

                            จากการคาดคะเนระบอบความชื้นในดินเบื้องต๎น โดยพิจารณาจากปริมาณน้้าฝน

                  ความสูงจากระดับทะเลปานกลาง รํวมกับการศึกษาของ ณรงค์ (2545) คาดวําบริเวณพื้นที่สํวนขยายผล
                  โครงการ พบระบอบความชื้นในดินทั้ง 3 ประเภท คือ ระบอบความชื้นแบบ Aquic soil moisture regime

                  จะพบในบริเวณสํวนต่้าของพื้นที่ ใช๎ประโยชน์ในการท้านา ระบอบความชื้นแบบ Ustic soil moisture

                  regime  พบบริเวณพื้นที่มีความสูงจากระดับน้้าทะเลน๎อยกวํา 1,000 เมตร และระบอบความชื้นแบบ

                  Udic soil moisture regime พบบริเวณพื้นที่มีความสูงจากระดับทะเลมากกวํา 1,000 เมตร










                  การศึกษากระบวนการด้าเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้้า ตาม พ.ร.บ. พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41