Page 17 - รายงานการศึกษากระบวนการดำเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำดำเนินงานตามบทบัญญัติมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 17

1-4





                      1.3.4  ศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคม ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้้า โดยใช้ข้อมูล

                  ทุติยภูมิร่วมกับการสัมภาษณ์เกษตรกรเจ้าของพื้นที่ แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1

                  เป็นสภาพเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไปด้านประชากร เศรษฐกิจและสังคม ส่วนที่ 2
                  เป็นการศึกษาสภาพทั่วไปของประชากรกลุ่มตัวอย่างและความรู้ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้้า

                  โดยจ้าแนกพื้นที่ศึกษาเป็น 3 พื้นที่ คือ 1) พื้นที่รองรับการประกาศเขตส้ารวจที่ดิน โดยใช้ลุ่มน้้าน้้าย่าง

                  เป็นพื้นที่ศึกษา 2) พื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้้า 3) พื้นที่รองรับการประกาศเขต

                  อนุรักษ์ดินและน้้า ที่มีการจัดรูปแบบอนุรักษ์ดินและน้้าแล้ว
                      1.3.5  กิจกรรมก้าหนดแนวทางการก้าหนดเขตการใช้ที่ดิน และบริหารจัดการที่ดินเชิงพื้นที่

                  เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลในการก้าหนดเขตส้ารวจที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้้า จากการวิเคราะห์

                  พื้นที่ด้านกายภาพ สภาวะเศรษฐกิจและสังคม สังเคราะห์ประมวลข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย และข้อมูล

                  สารสนเทศภูมิศาสตร์ต่างๆ พร้อมทั้งพิจารณานโยบายและข้อกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง น้ามาจัดท้า
                  ร่างการก้าหนดแนวทางการบริหารจัดการที่ดินเชิงพื้นที่ พร้อมระบบอนุรักษ์ดินและน้้า ในรูปแผนที่

                  และรายงาน เพื่อเสนอต่อคณะท้างาน คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดิน และใช้ในการรับฟังความคิดเห็น

                  ของประชาชน
                      1.3.6   ด้าเนินการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามระเบียบส้านักนายกรัฐมนตรี

                  ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 โดยด้าเนินการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น

                  ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรวมสองครั้ง ครั้งแรกด้าเนินการรับฟังความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
                  ในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง และครั้งที่สองด้าเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจาก

                  การด้าเนินการตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 โดยใช้วิธีบรรยายชี้แจง เรื่อง การชะล้าง

                  พังทลายของดิน ผลเสียที่เกิดจากการชะล้างพังทลาย แนวทางในการป้องกัน ประโยชน์ที่จะได้รับหาก
                  มีการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้า และแบ่งสนทนากลุ่มย่อย (Focus  group) ร่วมกับการตอบ

                  แบบสอบถามความคิดเห็น

                  1.4  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

                      1.4.1   กระบวนการ ขั้นตอนที่เป็นรูปธรรม และเหมาะสมในการด้าเนินการประกาศเขตส้ารวจ

                  การอนุรักษ์ดินและน้้า และเขตอนุรักษ์ดินและน้้า ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551
                      1.4.2  ฐานข้อมูลสารสนเทศที่ใช้เป็นฐานข้อมูลในการพิจารณาก้าหนดเขตอนุรักษ์ดินและน้้า

                      1.4.3  มีแนวทางส่งเสริมให้หน่วยงาน เจ้าหน้าที่ ประชาชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่เกิด

                  การบูรณาการงานร่วมกัน มีความเข้าใจต่อผลดีผลเสีย ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการประกาศเขต
                  อนุรักษ์ดินและน้้า









                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22