Page 16 - รายงานการศึกษากระบวนการดำเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำดำเนินงานตามบทบัญญัติมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 16
1-3
รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายและดินถล่ม 1: 25,000
ก้าหนดพื้นที่ส้ารวจเขตที่ดิน
ส้ารวจข้อมูลภาคสนาม
(ด้านกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม)
ก้าหนดพื้นที่ประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้้า
ส้ารวจและท้าแผนที่ระดับละเอียด 1: 4,000
วางแผนการใช้ที่ดินพร้อมออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้้า
จัดประชุม ชี้แจง/รับฟังความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
จัดเวทีชี้แจงรับฟังความคิดเห็นของประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
จัดท้ารายงานและสรุปผลการศึกษา
รูปที่ 1-1 ขั้นตอนการศึกษาการด าเนินการเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า
1.3.2 กิจกรรมจัดท้าฐานข้อมูลสารสนเทศพื้นที่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดิน การเกิด
ดินถล่ม และออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้้า ขั้นตอนการจัดท้าฐานข้อมูลในล้าดับนี้จะด้าเนินการ
ถัดจากการคัดเลือกก้าหนดพื้นที่ส้ารวจการอนุรักษ์ดินและน้้าที่ได้จากการใช้ฐานข้อมูลแผนที่
การชะล้างพังทลายของดิน และแผนที่พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดดินถล่ม หามาตรการป้องกันในบริเวณที่จะ
ประกาศก้าหนดเป็นเขตอนุรักษ์ดินและน้้า ออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้้าพร้อมมาตรการป้องกัน
ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาและป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
1.3.3 กิจกรรมศึกษา ส้ารวจ วิเคราะห์ จัดท้าฐานข้อมูลทรัพยากรดิน และฐานข้อมูลสภาพการใช้ที่ดิน
เพื่อให้ได้ข้อมูลลักษณะและสมบัติของข้อมูลดิน และข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินในพื้นที่ที่สามารถน้าไป
ประยุกต์ใช้ ในการประเมินความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน การปรับปรุงบ้ารุงดิน การอนุรักษ์ดิน
และน้้า และการจัดการดิน บริเวณพื้นที่ลุ่มน้้าตัวแทนที่ใช้เป็นพื้นที่ด้าเนินการประกาศเขตส้ารวจที่ดิน
จะจัดท้ารายงาน ขนาดมาตราส่วน 1: 25,000 ส่วนบริเวณพื้นที่ที่จะจัดท้าประกาศการก้าหนดเขตอนุรักษ์ดิน
และน้้า ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 จะจัดท้ารายงานการส้ารวจดินในระดับประเภทดิน
ขนาดมาตราส่วน 1: 4,000
การศึกษากระบวนการด้าเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้้า ตาม พ.ร.บ. พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551