Page 14 - รายงานการศึกษากระบวนการดำเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำดำเนินงานตามบทบัญญัติมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 14

บทที่ 1

                                                         บทน า



                  1.1  หลักการและเหตุผล


                      กรมพัฒนาที่ดินมีภารกิจที่ส้าคัญตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พุทธศักราช 2551 ที่จะต้อง

                  เข้าไปด้าเนินการป้องกันแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของดิน รวมถึงปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน
                  พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดดินถล่ม และการแก้ปัญหาความขัดแย้งการใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตร

                  อันจะส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม ทั้งนี้ พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551

                  ถือเป็นเครื่องมือส้าคัญของเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน เพื่อใช้เป็นกรอบการท้างานช่วยในการ
                  ด้าเนินการดังกล่าว แต่เนื่องจากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 มีขอบเขต

                  กว้างขวาง และมีส่วนเกี่ยวข้องกับสิทธิ และเสรีภาพของประชาชนโดยรวม การน้าไปใช้ต้องกระท้า

                  ด้วยความระมัดระวังบนพื้นฐานความถูกต้อง มีเหตุผล ประกอบกับข้อมูลทางวิชาการสนับสนุน และ
                  การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังนั้น จึงจ้าเป็นต้องมีการศึกษาแนวทางการบังคับใช้

                  เพื่อสามารถใช้เป็นแนวทางในการด้าเนินงานแก้ปัญหาในพื้นที่อื่นๆได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ

                  ตรงตามเจตนารมณ์ที่จะให้มีการใช้ที่ดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยั่งยืน และเกิดประโยชน์สูงสุด
                      ในการก้าหนดเขตส้ารวจที่ดิน เขตส้ารวจการอนุรักษ์ดินและน้้า และเขตส้ารวจเพื่อการควบคุม

                  การใช้ที่ดินจะด้าเนินการในขนาดมาตราส่วน 1: 25,000 เพื่อให้สามารถประเมินถึงสภาพความรุนแรง

                  ของปัญหาทรัพยากรดินที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่ ส่วนพื้นที่ที่ถูกก้าหนดเป็นบริเวณการใช้ที่ดิน
                  เขตอนุรักษ์ดินและน้้า และเขตควบคุมการใช้ที่ดินจะด้าเนินการในขนาดมาตราส่วน 1: 4,000 เพื่อให้

                  มีความละเอียดเพียงพอสามารถใช้ในการออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้้า รวมถึงการบริหารจัดการ

                  ที่ดินในระดับรายแปลงได้

                      ทั้งนี้ในปัจจุบันการใช้ที่ดินจ้านวนมากก่อให้เกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และพื้นที่
                  ปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการใช้ที่ดินในบริเวณที่เป็นพื้นที่ที่มีความลาดชัน

                  โดยขาดความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ดินและน้้า ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จะด้าเนินการในเรื่องการก้าหนด

                  เขตส้ารวจการอนุรักษ์ดินและน้้า และก้าหนดเขตอนุรักษ์ดินและน้้า เป็นการน้าร่องล้าดับแรก เพื่อให้ได้

                  รูปแบบกระบวนการด้าเนินการตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 ที่เหมาะสมสามารถ
                  น้าไปใช้ในพื้นที่อื่นได้













                  การศึกษากระบวนการด้าเนินงานเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้้า ตาม พ.ร.บ. พัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19