Page 9 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 9

4

                  ทรัพยากรที่ไมสามารถสามารถทดแทนได  จึงทําใหเกิดปญหาการใชประโยชนที่ดิน การบุกรุกพื้นที่ปา ใช

                  ที่ดินที่ไมเหมาะสม ขาดการอนุรักษดินและน้ําที่ถูกตอง และที่สําคัญคือขาดการบูรณาการในการจัดการ
                  ทรัพยากรดิน น้ําและพืช  สิ่งตางๆ เหลานี้ลวนสงผลใหเกิดปญหาตอทรัพยากรดินและที่ดิน และทวีความ

                  รุนแรงมากขึ้น เชน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน ปญหาการตกตะกอนของดินในแหลงน้ําธรรมชาติ

                  ปญหาขาดความอุดมสมบูรณ แล ปญหาการเกิดมลพิษในดินและแหลงน้ําตามธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังทําให
                  เกิดภัยพิบัติ น้ําทวมและน้ําแลง เปนตน  สิ่งตางๆ เหลานี้สงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมตอระบบ

                  นิเวศวิทยาและสิ่งมีชีวิตตางๆ ที่อาศัยอยูบนที่ดิน  และในที่สุดคือสงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของมนุษย ผู

                  ซึ่งเปนทั้งผูเรงใหเกิดความเสียหายและตองเปนผูรับความเสียหายนั้นดวย

                           อนึ่ง เนื่องจากทรัพยากรดินเหลานี้เสื่อมโทรมลงทุกวัน สาเหตุหนึ่งเกิดจากการใชพื้นที่ทํา
                  การเกษตรอยางตอเนื่อง แตขาดการพัฒนาฟนฟูดินและน้ําอยางถูกวิธี อีกทั้งมีปญหาเกี่ยวกับสภาพดินไมวา

                  จะเปนดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินกรด ฯลฯ  หรือแมในพื้นที่ที่มีความลาดเทซึ่งมีความเสี่ยงตอการชะลางพังทลาย

                  ของดิน ปญหาดังกลาวลวนแลวแตเปนอุปสรรคในการประกอบอาชีพของเกษตรกรทั้งสิ้น  สภาพปญหาแต

                  ละแหงแตละทองถิ่นมีความแตกตางกันไปตามลักษณะภูมิประเทศ  และตามการใชประโยชนที่ดิน  ดังนั้น
                  เพื่อใหสามารถแกปญหาไดอยางตรงจุดและเหมาะสม กรมพัฒนาที่ดิน จึงไดดําเนินการจัดทํา  “โครงการเขต

                  พัฒนาที่ดิน” ซึ่งขณะนี้มีจํานวน 547  แหงทั่วประเทศไทย

                           เขตพัฒนาที่ดิน เปนพื้นที่ดําเนินการและปฏิบัติการพัฒนาที่ดินดวยการบูรณาการเทคโนโลยีการ
                  พัฒนาที่ดิน เปนศูนย/จุดเรียนรู แปลงสาธิตและทดสอบ ดานการบริหารและจัดการทรัพยากรดินและน้ํา

                  ขนาดใหญ ในลักษณะการบริหารจัดการลุมน้ําอยางเปนระบบ ตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา กลาวคือ

                  ในพื้นที่ตนน้ําตองสงวนรักษาไวเปนพื้นที่ปาไม สําหรับเปนแหลงน้ําตนทุน  สวนพื้นที่กลางน้ําและปลายน้ํา
                  ใหนําระบบอนุรักษดินและน้ํา ซึ่งมีทั้งมาตรการวิธีกลและวิธีพืชเขาไปชวยปองกันการชะลางพังทลายของ

                  ดิน  น้ําไหลบาก็ควรวางแผนพัฒนาพื้นที่เพื่อเก็บกักน้ําไวใชประโยชน ตลอดจนออกแบบระบบอนุรักษดิน

                  และน้ํา เพื่อควบคุมน้ําและระบายน้ํา สวนพื้นที่การเกษตรที่มีปญหาดินนั้น ใหนําวิธีการจัดการ และ
                  เทคโนโลยีของกรมพัฒนาที่ดิน  เขาไปพัฒนา ฟนฟู ปรับปรุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ พรอมกันนี้ให

                  สงเสริมการทําเกษตรอยางถูกวิธีและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ซึ่งจะชวยใหเกิดการใชประโยชนทรัพยากร

                  ดินและน้ําเพื่อการเกษตรไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดและมีความยั่งยืนตลอดไป

                         เอกสารฉบับนี้ ไดเสนอหลักการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน โดยการรวบรวมองค
                  ความรูและองคประกอบที่สําคัญในการบริหารจัดการเขตพัฒนาที่ดิน เชน ระบบขอมูลดิน การสํารวจจําแนก

                  ดินและที่ดิน ระบบการจําแนกความเหมาะสมของดิน ระบบแผนที่ดิน การวางแผนการใชที่ดิน ระบบลุมน้ํา

                  และการระบายน้ํา  ระบบชลประทาน ระบบอนุรักษดินและน้ํา ระบบการปลูกพืช ปญหาและการจัดการดิน
                  และพืชเพื่อการเกษตร  ระบบการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาที่ดินและมาตรการการใชกฎหมาย

                  เปนตน  คูมือหลักการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน ไดบูรณาการองคความรูในสาขาตางๆ

                  ตลอดจนบทบาทและหนาที่ของหนวยงาน ประชาชน และเครือขายที่เกี่ยวของในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14