Page 8 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 8

3

                          1.3.3. อํานาจหนาที่

                         (1) ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยการพัฒนาที่ดินและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

                         (2) ศึกษา สํารวจ วิเคราะห และจําแนกดินเพื่อกําหนดนโยบาย และวางแผนการใชที่ดิน การกําหนด

                  บริเวณการใชที่ดิน การควบคุมการใชที่ดิน บริเวณที่มีการใชหรือทําใหเกิดการปนเปอนของสารเคมี หรือ

                  วัตถุอื่นใด การกําหนดเขตการอนุรักษดินและน้ํา รวมทั้งติดตามสถานการณสภาพการใชที่ดิน
                         (3) ศึกษา วิจัยและพัฒนาการปรับปรุงบํารุงดิน การอนุรักษดินและน้ํา การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน

                  เพื่อการเกษตรในไรนา ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่และการใชประโยชนที่ดินเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม

                  และลดตนทุนการผลิตทางการเกษตร

                                (4)  ใหบริการวิเคราะหและตรวจสอบดิน น้ํา พืช ปุย พรอมใหคําแนะนําเพื่อการปรับปรุงบํารุงดิน
                  การอนุรักษดินและน้ํา และอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาที่ดิน

                                (5) ศึกษา วิเคราะห และผลิตแผนที่ภาพถาย จัดทําสํามะโนที่ดิน และพัฒนาระบบแผนที่ฐาน เพื่อใช

                  เปนขอมูลในการวางแผน  การพัฒนาการผลิต การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางการเกษตรและอื่นๆ
                                (6) ถายทอดผลการศึกษา คนควา วิจัย และใหบริการดานการพัฒนาที่ดิน รวมทั้งสรางเครือขายหมอ

                  ดินอาสา และกลุมเกษตรกร ใหเขมแข็ง เพื่อรองรับการถายทอดเทคโนโลยี และการมีสวนรวมในการพัฒนา

                  ที่ดินและในดานอื่นๆ


                  1.4. ความสําคัญของการจัดระบบการอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน


                           การพัฒนาที่ดิน  เปนการบริหาร จัดการ และดําเนินการ หรือปฏิบัติตอดินหรือที่ดิน เพื่อเพิ่ม
                  ประสิทธิภาพและคุณภาพของดินหรือที่ดิน หรือเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหสูงขึ้น โดยการบูรณาการ

                  งานอนุรักษดินและน้ํา รวมถึงการปรับปรุงดินหรือที่ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติหรือขาด

                  ความอุดมสมบูรณเพราะการใชประโยชน เพื่อฟนฟู รักษาสมดุลธรรมชาติ และวางแผนการใชประโยชน

                  ที่ดินที่ดินเพื่อการเกษตรอยางยั่งยืน ดังนั้น จึงสามารถแบงหลักการพัฒนาที่ดินออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้
                           1.4.1.  การพัฒนาที่ดินที่ยังไมเคยใชประโยชน ใหมาอยูในรูปที่ใชประโยชนในกิจกรรมตาง ๆ เชน

                  ดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และที่อยูอาศัย เปนตน

                           1.4.2.  การพัฒนาที่ดินที่ใชประโยชนอยูแลว ใหไดรับผลตอบแทนอยางเต็มที่ โดยการอนุรักษดิน
                  และน้ํา รวมถึงการฟนฟู ปรับปรุงบํารุงดินดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อการใชประโยชนอยางยั่งยืน



                         ปจจุบันประชากรของประเทศไดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว   ทําใหมีความตองการการใชประโยชนจาก
                  ที่ดินเพิ่มขึ้น กลาวคือมีการใชประโยชนไมเพียงเพื่อผลิตอาหารในการดํารงชีวิตเทานั้น   แตเปนการผลิตเพื่อ

                  อุตสาหกรรม  การสงออก  และที่อยูอาศัย  ทั้งนี้เพื่อตอบสนองตอความตองการ ปจจัยหลักในการดํารงชีวิต

                  และรองรับกับการขยายตัวของชุมชนเมืองอีกดวย เนื่องจากทรัพยากรที่ดินมีอยูจํานวนจํากัด และเปน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13