Page 91 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 91

ตอนที่ 2 ตามรอยพระราชดําริ : ศูนยพิกุลทอง


                      เรื่องที่จะคุยใหพวกเราฟงคือ มีพระราชดําริอะไรที่เราทํากันบางภายในศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ
               เมื่อวันที่ 11 กันยายน  พ.ศ.2526 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดําริวา “...จุดประสงค

               ของการจัดตั้งศูนยศึกษาฯ เพื่อเปนการสาธิตการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ... ”  ศูนยศึกษา การพัฒนาพิกุลทอง
               อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ที่อยูในจังหวัดนราธิวาสเปนศูนยศึกษาที่เนนทางดานคนควาวิจัยและบริการในชีวิต
               ความเปนอยูในภาคใต หนักไปในทางดินที่เปนพรุซึ่งเปนปญหามาก เพราะวายังไมไดศึกษาพอ  และเกี่ยวของ
               กับกรมกองหลายกรมกอง ซึ่งอาจจะยังไมปรองดองกัน คือไมเขาใจกัน ก็มาวิจัยพรอมกันทีเดียวจะไดมีความ
               เขาใจกันได…” หลังๆ พอไดมาทํางานศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ก็ไดมาทําวิจัยรวมกันก็เปนเพื่อนกัน

               ตอนนั้นไดทํางานกับนายสามารถ โชคคณาพิทักษ กรมชลประทาน การทํางานที่ศูนยการศึกษาการพัฒนา
               พิกุลทองฯ เราทํากันหลายสิ่งหลายอยางซึ่งก็เปนพระราชดําริทั้งนั้น การพัฒนาโครงการตางๆ ตามรูปแบบ
               ของศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ มีรูปแบบการพัฒนา ที่ผมรวบรวมมาก็มีอยู 6 เรื่อง ดังนี้

                       1. เปนแหลงที่รวมการศึกษา เพื่อดูวาทําอยางไรจะพัฒนาไดผล
                       2. พิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต
                       3. ศูนยบริการ ณ จุดเดียว
                       4. ผสมผสาน / บูรณาการ

                       5. คณะกรรมการบริหารโครงการ
                       6. การพัฒนาคน และโรงเรียนฝกหัดขาราชการ

                      เรื่องที่ 1  คือ ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ เปนแหลงที่รวมการศึกษา
               เพื่อดูวาทําอยางไรจะพัฒนาไดผล  ไดมีการ Research  and  Development  (R &  D) และไดมีการศึกษา
               หาวิธีการพัฒนาในหลายโครงการ  ยกตัวอยาง


                      โครงการที่ 1 การปรับปรุงดิน เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงทราบวาดินในพรุ คือ ดินอินทรีย
               มีความเปนกรดสูง พระองคทานก็รับสั่งใหนําดินอินทรียไปผสมกับปูนขาว แลวนําไปปรับปรุงดินทราย เราก็
               ทดลองนําดินอินทรีย 1 ตัน ใสปูนขาว 17 กิโลกรัม คลุกกันทิ้งไวสัก 2 – 3 สัปดาห จาก pH 4 ขึ้นมาเปน pH

               5 - 6  โครงการนี้ทําที่ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ เกิดจากที่ประชุมจังหวัด
               นราธิวาส เขาจะขยายสนามบินจังหวัดนราธิวาส ซึ่งจะขุดดินพรุ ดินอินทรีย 30,000 ตันทิ้งทะเล  เราอยูในที่
               ประชุมก็บอกวาดินนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวบอกวา ถานําไปผสมกับปูนขาวก็จะนําไปใชปรับปรุงดิน

               ตอนนั้นทางสนามบินดีใจปแรกๆไมคอยมีใครอยากไดเทาไร พอปที่สองเริ่มแยงกันนําไปใชปลูกพืชผัก

                      โครงการที่ 2 โครงการแกลงดิน แบงเปน 6 แปลง เรื่องดินเปรี้ยว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
               ทรงรับสั่งวาเราศึกษาดินเปรี้ยวโดยมาทดลองใชที่หมูบานรอบศูนยสาขากอน ทานบอกวาใหเวลาศึกษา
               โครงการแกลงดิน 3 ป จนกวาโครงการบางนราจะเสร็จ เมื่อศึกษาไดผลดีแลว ใหนําไปขยายที่ โคกอิฐ โคกใน

               โคกกระทอม  บานยูโย นี่คือภาพแปลงแกลงดิน มี 6 แปลง  แปลงที่ 1  ใสดินอยางเดียว  แปลงที่ 2
               ใชน้ําอยางเดียว  แปลงที่ 3 ใชน้ํากับดินผสมกัน แปลงที่ 4 ใหเราปรับปรุงแลวทิ้งไว  ดูวาดินจะกลับมาเปรี้ยวอีกไหม
               ปรากฏวาก็กลับมาเปรี้ยวอีก แปลงที่ 5 เราปลูกผัก แปลงที่ 6 ใหทิ้งไวเฉยๆ  โครงการวิจัยแกลงดินนี้ เราเริ่ม
               ในป 2528  นี่ก็ผานมา 30 ปก็ยังวิจัยอยู  โดยเฉพาะแปลงที่ 6 ที่เราทิ้งไวเฉยๆ เพื่อดูวาจะมีพืชอะไร

               ขึ้นมาบาง  ถาเราพูดในแงนักวิชาการ พระองคทานเปนเหมือนหัวหนาโครงการวิจัย เพราะสวนใหญการทํางาน
               เปนพระราชดําริทั้งสิ้น มีอยูแปลงหนึ่งตอนนั้นเราศึกษาวาควรจะแชน้ํา 4 สัปดาห สารพิษจะออกมามาก

               ขอมูลนี้เปนของหัวหนาฝายวิเคราะห ดินในขณะนั้นคือทานอธิบดีอภิชาต จงสกุล






                    88  องคความรูสูปดินสากล 2558
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96