Page 86 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 86

พื้นที่ภูเขา   1,073,013 ไร (40 %)

                                                          พื้นที่ดอน        793,233 ไร (33 %)
                                                          พื้นที่ทํานา      246,873 ไร (  9 %)

                                                          พื้นที่ดินทราย       74,881 ไร (  3 %)
                                                          พื้นที่พรุ        261,860 ไร (10 %)





                                          ภาพที่ 4 สภาพภูมิประเทศของจังหวัดนราธิวาส


               ตั้งแตป 2519 ถึง 2522 พระบาทสมเด็จ
               พระเจาอยูหัวเสด็จเยี่ยมราษฎรพื้นที่ตางๆ  ในจังหวัด

               นราธิวาส  ทานสนพระทัยเรื่องการพัฒนาพื้นที่
               พื้นที่ที่ยังไมไดพัฒนาและพัฒนายากคือพื้นที่พรุ
               เมื่อป 2523 ผมเปนหัวหนาศูนยพัฒนาที่ดิน
               นราธิวาส มีโอกาสรวมโตะเสวย ดานหนึ่งคือ

               ผูวาราชการจังหวัดนราธิวาส และแมทัพภาค 4
               และอีกดานหนึ่งคือ นายชางจากกรมชลประทาน
               และหัวหนาศูนยพัฒนาที่ดินนราธิวาสพระองคทาน
               ก็รับสั่งถึงเรื่องพื้นที่ดินพรุ โคกชุมบก โคกอิฐ
                                                                ภาพที่ 5 สภาพพื้นที่พรุ ในจังหวัดนราธิวาส
               โคกในพรุโตะแดง คืออยากจะบอกวาพระบาท สมเด็จประเจาอยูหัว ทรงสนพระทัยในการพัฒนาพื้นที่โดยตลอด
               เดือนสิงหาคมป 2524 ทรงเสด็จที่พรุกาบแดง(พรุหมากแดง) ซึ่งอยูดานหลังสถานีพัฒนาที่ดินนราธิวาสปจจุบันนี้
               เพื่อดูปญหาของการเพาะปลูกพืชในพื้นที่พรุ

                        สําหรับเรื่องการใชขอมูลชุดดิน ในสมัยกอนมีอยู 2 หนวยงานคือ กองจําแนกดิน และกองสํารวจดินที่จะ
               ใชขอมูลชุดดิน  ผมนําขอมูลดิน Soil  Map ของจังหวัดนราธิวาสมาใชประโยชนไดดีมาก พบวาขอมูลดินที่
               จังหวัดนราธิวาสมีดินกรดกํามะถันอยู 2,000 กวาไร มีดินชุดชะอําชุดเดียวที่เปน Acid Sulfate Soil เมื่อผม
               ยายไปเมื่อป 2521 – 2522 ผมพบจาโรไซตที่นั่น ซึ่งผมเคยพบมากอนที่รังสิต และแปดริ้ว มาพบอีกครั้ง
               ที่จังหวัดนราธิวาสจากที่เมื่อกอนไมเคยมี  ผมจึงมาคุยกับ ดร.สมาน  พาณิชยพงส วาเหมือนผมจะพบจาโรโซต

               ชวงนั้นป 2524 ก็ให ดร.พิสุทธิ์ วิจารณสรณ มาดูพบวาเปนดินเปรี้ยวมากแลว น้ําก็เปรี้ยว สภาพเปลี่ยนไปจาก
               เดิมที่เคยสํารวจ เมื่อป 2509 ซึ่งไมมีดินเปรี้ยวมากเทาใด ดร.พิสุทธิ์ วิจารณสรณ ไดรายงานเรื่องนี้ให
               นายสิทธิลาภ วสุวัติ รองอธิบดี ในสมัยนั้น ซึ่งมาตรวจเยี่ยมศูนยพัฒนาที่ดินนราธิวาส เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม

               2524 และทานสิทธิลาภ  เห็นวาดินในพื้นที่พรุเปลี่ยนเปนดินกรดกํามะถันมาก เลยบอกวาถามีโอกาส
               ตองกราบทูลพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว  ประกอบกับทราบวาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงสนพระทัย
               การพัฒนาพื้นที่พรุ  ศูนยพัฒนาที่ดินนราธิวาสจึงไดเชิญเสด็จมาดูการพัฒนาแปลงพื้นที่พรุ ซึ่งมี  2 แปลง คือ
               แปลงที่ปลูกพืชไมขึ้น กับ แปลงที่ใสปูนขาวเล็กนอยแลวปลูกพืชขึ้น

                                                                                    เกิดศูนยพิกุลทอง   83
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91