Page 69 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 69

ในขณะไถนา แตถาหากฝนชวงนี้มาลาชาทิ้งหางฝนชวงแรกมากๆ ก็จะทําใหตนกลาที่เตรียมไวเสียหาย จนไม
               สามารถนํามาปกดําได แตทั้งนี้ไมวาฝนชวงนี้จะมาลาชาหรือมาเร็วก็ตาม ปริมาณน้ําฝนในชวงนี้ก็จะมากกวา

               ปริมาณน้ําฝนในชวงแรก และจะตกหนักมากจนทําใหเกิดสภาวะน้ําทวมพื้นที่นา ทําใหตนขาวที่เพิ่งปกดําใหมๆ
               เสียหายน้ําที่ทวมในลักษณะเชนนี้เรียกวา สภาวะน้ําทวมอันเกิดจากฝนที่ตกหนักในพื้นที่ที่ไมมีทางระบายออก
               ไดทั้งนี้ก็เนื่องจาก สภาพภูมิประเทศของทุงกุลารองไห เปนที่ราบลุมแบบแองกระทะขนาดใหญมีความลาดเท
               ของพื้นที่จากทิศตะวันตกไปสูทิศตะวันออกดวยความลาดชันต่ํามากๆคือ.ประมาณ 1 ตอ 15,000.(ทุกๆ.15

               กิโลเมตรจะมีระดับต่ําลงมา 1 เมตร ) ความลาดชันแบบนี้มองดวยตาเปลาจะถือวาราบเรียบเปนกระจกไป
               จนถึงความลาดชันที่มีความที่มีความลาดชันประมาณ.1 ตอ 5,000 (ทุกๆ .5.กิโลเมตร จะมีระดับต่ําลงมา 1
               เมตร ) ความลาดเทแบบนี้ ขนาดนี้ก็ยังดูราบเรียบเปนกระจกอยูเหมือนเดิม.ดังนั้น.ลักษณะการระบายน้ําตาม

               ระบบปกติของพื้นที่ทุงกุลารองไห แบบนี้ จะมีรูปแบบการระบายน้ํา โดยอาศัยสิ่งกอสรางที่สรางขึ้นเองโดย
               ธรรมชาติ ไมใชโดยมนุษย มีหลายรูปแบบตอเนื่องกันตามลักษณะการไหลของน้ําดวย คือ การไหลของน้ําใน
               ระดับพื้นที่ราบเรียบเปนกระจกนี้จะเริ่มตนการไหลแบบเปนแผน แผไปทั้งพื้นที่ เพื่อหาทางออกลงในพื้นที่ต่ํา
               จนในที่สุดก็เริ่มรวมตัวกันเปนรองเล็กๆ ใหเห็นแตคนยังเดินขามได ตอจากนั้นการไหลก็จะเริ่มมีขนาดใหญขึ้น
               มีการกัดเซาะหนาดินลึกลงไปกลายเปนรองลึก.ซึ่งชาวบานจะเรียกทางน้ําแบบนี้วา โศก รองน้ําแบบนี้จะมี

               ขนาดกวางขึ้น ลึกขึ้นจนเดินขามไดดวยความยากลําบาก เกวียนจะขามไมไดเลยถายังมีน้ําไหลอยู น้ําที่ระบาย
               ผานโศกก็จะสะสมเพิ่มมากขึ้นจนเพิ่มขนาดของโศก กลายเปนสิ่งที่เรียกวารอง เปนรองหมาอีขาวรองลูกนก
               จากรองนี้ การไหลก็พัฒนาไปสูการไหลในปริมาณสะสมที่เพิ่มขึ้นมากขึ้นขนาดของรองก็จะกวางและลึกขึ้น

               กลายเปนหวย.จากหวยการระบายน้ําเพิ่มมากขึ้น ทั้งปริมาณและความเร็วจนกลายเปนคลอง.หรือที่ชาวนา
               เรียกวา.ลํา เชน ลําพลับพลา ลําเสียวนอย เปนตน.ณ.จุดนี้ การไหลของน้ําเริ่มจะมีระยะเวลายาวนานมากขึ้น
               แตอาจจะไมทั้งปก็ได จนกวาจะมีการพัฒนาการไปเปนแม คือ แมน้ํา เชน แมน้ํามูล หรือ แมมูล ที่มีการไหล
               ของน้ํามีการระบายน้ําตอเนื่องตลอดทั้งปรองน้ําตามธรรมชาติตามลําดับที่กลาวมานี้บางก็ตื้นเขินโดยธรรมชาติ

               บางก็ถูกขุดเปนบอดักปลากลางลําน้ําหรือสรางเปนฝายดินเล็กๆเพื่อดักจับปลาและเปนทางขามลําน้ําของ
               ชาวบานประกอบกับพื้นที่เหลานี้คือพื้นที่นา พื้นที่นี้จึงมีคันนานับลานๆคัน สภาพที่มีสิ่งกีดขวางมากมายเชนนี้
               มีผลใหเกิดการชะลอของน้ําที่ไหลโดยธรรมชาติ กลับมาสรางปญหาน้ําทวม – อุทกภัยใหเกิดขึ้นอยางรุนแรง
               โดยการรูเทาไมถึงการณของชาวนาเองอีกสวนหนึ่งดวยลักษณะภูมิประเทศที่ราบเรียบแบบนี้เมื่อตองประสบ

               กับฝนที่ตกหนักในฤดูฝนก็จะทําใหเกิดปญหาน้ําทวมขังในพื้นที่นาเปนเวลานานจนกอใหเกิดเปนอุทกภัยทําให
               ตนกลาหรือตนขาวที่ปลูกอยูในนาเสียหาย.ทั้งนี้ โอกาสที่จะเกิดอุทกภัยในทุงกุลารองไหจะมีถึง 2 ครั้ง.ในฤดูทํานาป
               เพราะอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดียที่นําฝนเขามาในชวงเดือนพฤษภาคม ถึง
               มิถุนายน.ทุกป กับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดมาจากมหาสมุทรแปซิฟกที่นําฝนเขามา

               ในชวงเดือนสิงหาคม–กันยายน ทุกปเชนกัน ปริมาณน้ําฝนรวมที่ไดจากมรสุมลูกหลังมักจะมีมากกวาปริมาณ
               น้ําฝนที่ไดจากมรสุมลูกแรก อุทกภัยจากมรสุมลูกหลังจึงรุนแรงมากกวามรสุมลูกแรก อยางไรก็ตามขึ้นชื่อวา
               อุทกภัย ไมวาจะเปนอุทกภัยจากมรสุมลูกแรกขณะที่ตนขาวยังอายุนอยหรือมีลักษณะเปนตนกลาอยู หรือเปน

               อุทกภัยจากมรสุมลูกหลังขณะที่ตนขาวเติบโตดีแลวก็ตาม อุทกภัยก็จะทําลายตนขาวทั้ง2 ระยะไดโดยสิ้นเชิง
               ทั้งสิ้น ยิ่งไปกวานั้นจากกรณีศึกษาระบบสภาพภูมิอากาศดังกลาวเราจะพบชองวางระหวางมรสุมทั้ง 2 ลูก
               เปนชวงที่ไมมีฝนซึ่งเรียกอีกอยางหนึ่งวาระยะ“.ฝนทิ้งชวง”.ซึ่งมักเกิดขึ้นระหวางกลางเดือนกรกฎาคมถึงตนเดือน
               สิงหาคมของทุกปชวงวางเวนฝนนี้จะแทรกเขามาทําลายตนขาวในฤดูนาปไดอีกระลอกหนึ่งเปนภัยที่ตรงขามกับ
               อุทกภัย.คือ ภัยแลงกลางฤดูเพาะปลูกขาวนาป อุทกภัยและภัยแลงที่เกิดขึ้นสลับกันในฤดูทํานาปของ

               ทุงกุลารองไหเชนนี้ สงผลใหการทํานาในทุงกุลารองไหไดผลนอยการทํานาเชิงพาณิชยจึงไมไดผลความตกต่ํา
               ทางเศรษฐกิจจึงเกิดขึ้นทั่วไป.ดวยเหตุนี้ประการหนึ่ง




                    66  องคความรูสูปดินสากล 2558
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74