Page 68 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 68

ภาพมุมสูงของพื้นที่ทุงกุลารองไห


                        แมน้ําที่สําคัญของทุงกุลารองไห มีดังนี้
                        แมน้ํามูล   เปนเสนแนวเขตตลอดความยาวของพื้นที่ อยูทางทิศใตของพื้นที่ทุงกุลารองไห
                        ลําพังชู    เปนเสนแนวเขต อยูทางทิศตะวันตกของพื้นที่ทุงกุลารองไห
                        ลําพลับพลา  อยูตอนกลางของพื้นที่ทุงกุลารองไห

                        ลําเสียวใหญ  มาจากอําเภอบรบือ ผานทางเหนือตอนกลางของชายทุงกุลารองไห
                        ลําเสียวนอย  มาจากทางตอนเหนือของทุงกุลารองไหมาบรรจบกับลําเสียวใหญ
                        ลําเตา     มาจากทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทุงกุลารองไหมาบรรจบกับลําเสียวใหญ

                      ปญหาของทุงกุลารองไหกับการทํานา

                   ทุงกุลารองไหจะมีสภาวะแวดลอมที่ไมเหมาะสมแกการทํานาในยุครวมสมัยปจจุบันเปนอยางยิ่ง
               ซึ่งสามารถแสดงใหเห็นเปนภาพรวมในรูปของการที่ที่ดินของทุงกุลารองไห.เปนที่ดินประเภทใหผลตอบแทนต่ํา
               ไมคุมคาการลงทุนเมื่อพิจารณาลึกลงไปจะพบวามีเหตุและปจจัยที่ทําใหเกิดเปนปญหาดังกลาวดังนี้

                              1) ชาวทุงกุลารองไหสวนใหญเปนชาวนา และทํานาเพียงอยางเดียว โดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก
                              2)  บริเวณเขตทุงกุลารองไห  มีปริมาณน้ําฝนโดยเฉลี่ยปละ  1,300  มิลลิเมตร  และโดยที่
               รอยละ 80 ของปริมาณน้ําฝนทั้งป จะตกอยูในระยะเวลาประมาณ 6 เดือน คือ นับตั้งแตเดือนพฤษภาคม ถึง
               เดือนตุลาคมของทุกป และจะมีฝนตกหนักตอเนื่องกัน 2 ชวง โดยมีชวงแลงคั่นกลางระหวางฝนตกหนักทั้ง  2 ชวงนั้น

                              3) ฝนตกหนักชวงแรกคือ.ชวงฤดูกาลเพาะปลูก ในระหวางเดือนพฤษภาคม.ถึง.เดือนมิถุนายน
               ในระยะนี้ชาวนาตองเตรียมแปลงตกกลาและแปลงนา บางปฝนชวงนี้มาลาชาแตบางปก็มาเร็วซึ่งไมแนนอนเสมอไป
                              4) หลังจากฝนชวงแรกนี้ ก็จะเกิดฝนทิ้งชวง โดยจะมีระยะเวลาประมาณ 2 ถึง 4 สัปดาห
               คือในระหวางกลางเดือนกรกฎาคม – ตนสิงหาคมซึ่งก็ไมแนนอนเสมอไป เพราะบางปอาจมาลาชาหรือบางปก็

               อาจจะมาเร็วกวานี้ และในระยะนี้ชาวนามีความตองการน้ํา เพื่อใชหลอเลี้ยงแปลงตกกลาใหรอดตายจากการ
               ขาดน้ํา และเจริญเติบโตพอที่จะใชปกดําได เมื่อฝนตกหนักในชวงที่สอง ความตองการใชน้ําในระยะนี้จะตองมี
               เพียงพอสําหรับหลอเลี้ยงแปลงกลา โดยคิดเปนพื้นที่ประมาณ รอยละ 5 ถึง 7 ของพื้นที่ทํานาทั้งหมด
                              5)  โดยทั่วไปแลวในทางปฏิบัติ.ชาวนาจะเริ่มดํานาเมื่อฝนตกหนักในชวงที่สอง.คือระหวาง

               ปลายเดือนกรกฎาคม ถึงตนเดือนสิงหาคม หากวาฝนชวงนี้มาเร็วชาวนาก็จะประสบกับปญหาการเตรียมแปลง
               เพาะปลูก เนื่องจากมีน้ําอยูในแปลงนาจํานวนมาก และอาจมีระดับน้ําในแปลงนาสูงกวา 50 เซนติเมตร


                                                                           โครงการพัฒนาทุงกุลารองไห  65
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73