Page 66 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 66

ทานตอมา คือ ทานทรงศักดิ์  วงศภูมิวัฒน อดีตอธิบดี
                                                           กรมสงเสริมการเกษตร และรองอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน ได
                                                           กลาวบรรยายไว ดังนี้







               งานปรับปรุงพื้นที่นา
               โครงการพัฒนาทุงกุลารองไห


                        โครงการพัฒนาทุงกุลารองไห  ถือกําเนิดมาดวยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กันยายน.2519
               โดยเห็นชอบตามหลักการพัฒนาที่นําเสนอโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ  ในอันที่จะจัดใหมีการพัฒนาพื้นที่
               ทุงกุลารองไห  ซึ่งเปนดินแดนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจตกต่ํา จากเหตุ – ปจจัยตางๆจํานวนมากมายสงผลให

               เกษตรกรในพื้นที่กวา 400,000 ชีวิตในขณะนั้นมีความเปนอยู ทั้งในดานรายได ฐานะ และคุณภาพชีวิต
               ที่ย่ําแย ดังนั้นเปาหมายของการพัฒนาคือ เพื่อฟนฟูสถานะความเปนอยูของเกษตรกรในเขตทุงกุลารองไห
               ใหเทาเทียมกันกับความเปนอยูของเกษตรกรในเขตพัฒนาแลวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือใหได

                        ดังนั้น เพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาวขางตนกระทรวงเกษตรและสหกรณจึงไดมอบหมายใหกรม
               พัฒนาที่ดินเปนองคกรนําที่จะอํานวยการ และบูรณาการการทํางานของทุกภาคสวนราชการ ตามบทบาทและ
               หนาที่กวา 20 สวนราชการเขาดวยกันทั้งจากสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น กับทั้งจัดใหมีการเสริม
               การดําเนินงานแบบการมีสวนรวมของประชาชนชาวทุงกุลารองไห  เขามาดวยอยางตอเนื่องและอยางจริงจัง

               ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ.2524 สงผลใหทุกวันนี้วงจรความยากจนขนแคนตลอดจนการขาดแคลนภาคธุรกิจ
               ธุรกรรมทั้งหลาย ของชาวทุงกุลารองไหไดถูกทําลายลงไปแลวเปนสวนใหญและหนึ่งในความพยายามแกไข
               ปญหาตางๆของชาวทุงกุลารองไหนั่นก็คือ การดําเนินงานตามโครงการปรับปรุงพื้นที่นา ของสํานักวิศวกรรม
               เพื่อการพัฒนาที่ดิน หรือกองชางในขณะนั้น (2524 – 2554 ) ซึ่งเปนหนึ่งโครงการยอย  ในหลายๆโครงการ

               ยอยที่รวมตัวกันเขาเปนโครงการใหญ คือ.โครงการพัฒนาทุงกุลารองไห โครงการปรับปรุงพื้นที่นา คือ รูปแบบ
               หนึ่งของโครงการที่มีการประยุกตใชหลักวิชาทางวิศวกรรมโยธาและหลักวิชาทางวิศวกรรมเกษตรสาขาการ
               อนุรักษดินและน้ําเขาไปในพื้นที่เพื่อแกปญหาตางๆ ของทุงกุลารองไหทางกายภาพที่มีผลกระทบดานลบตอ
               การดํารงชีวิตของชาวทุงกุลารองไหสวนใหญทั้งทางดานเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนดานการเมือง

               และความมั่นคงอีกดวย

               สภาพทั่วไปของพื้นที่ทุงกุลารองไห
                     “ทุงกุลารองไห” มีพื้นที่ประมาณ 2.1 ลานไร สภาพภูมิประเทศเปนลักษณะแองกระทะขนาดใหญ
               รอบๆ ชายทุงจะเปนที่สูงและคอยๆลาดมาจรดพื้นที่ตอนกลางซึ่งพื้นที่สวนใหญจะเปนที่ราบลุมรอยตอของ

               จังหวัด 5 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนใต คือ
                      -  จังหวัดรอยเอ็ด มีเนื้อที่ทั้งหมด 986,807 ไร หรือ ประมาณรอยละ 46.8 ของพื้นที่ทั้งหมด.
                          อยูในทองที่ 4 อําเภอ คือ อําเภอเกษตรวิสัย อําเภอสุวรรณภูมิ (ที่ตั้งโครงการพัฒนาทุงกุลา

                          รองไห) อําเภอปทุมรัตน และอําเภอโพนทราย ครอบคลุมทั้งหมด 36 ตําบล 422 หมูบาน

                                                                           โครงการพัฒนาทุงกุลารองไห  63
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71