Page 69 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 69

50




                        3.2.2 พื้นที่เกษตรกรรม  โดยภาพรวมพื้นที่เกษตรกรรมของจังหวัดพะเยาลดลงจาก  1,599,740  ไร  ในป
                  พ.ศ. 2555 เปน 1,589,168 ไร ในป พ.ศ. 2558 มีเนื้อที่ลดลง 10,572 ไร หรือรอยละ 0.66 ของเนื้อที่เดิม
                  โดยเมื่อพิจารณาเปนรายพืชที่สําคัญมีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 5)

                             1)    พื้นที่นา  มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก  721,789  ไร  ในป  พ.ศ.  2555  เปน  745,685  ไร
                  ในป พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้น 23,896 ไร หรือรอยละ 3.31 ของเนื้อที่เดิม โดยมีพื้นที่นาขาวคงเดิมจากป พ.ศ. 2555
                  จํานวน 711,979  ไร และเพิ่มขึ้นการเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ. 2555 มากที่สุด จํานวน
                  23,713 ไร พบในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอเชียงมวน อําเภอดอกคําใต รองลงมาเพิ่มขึ้นมาจากพื้นที่เกษตรกรรม
                  อื่น ๆ เชน พืชสวน ทุงหญาและโรงเรือนเลี้ยงสัตว พืชน้ํา และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา จํานวน 7,862 ไร พบใน

                  อําเภอแมใจ อําเภอเชียงคํา  และพื้นที่ปลูกยางพารา 798 ไร ตามลําดับ พบในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอดอกคําใต
                  อําเภอเชียงคํา
                               ในขณะเดียวกันพบวา  พื้นที่นาในป  พ.ศ.  2555  ลดลง  โดยเปลี่ยนแปลงไปเปนการใชที่ดิน

                  ประเภทอื่น  ๆ  ในป  พ.ศ.  2558  เชนเดียวกัน  โดยเปลี่ยนเปนพื้นที่ปลูกขาวโพดในป  พ.ศ.  2558  มากที่สุด
                  2,561 ไร พบมากในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอดอกคําใต อําเภอเชียงมวน  รองลงมาเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูก
                  ยางพารา  2,197 ไร พบมากในอําเภอภูซาง อําเภอเมืองพะเยา อําเภอแมใจ และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่เบ็ดเตล็ด
                  เชน  ทุงหญาธรรมชาติ  ทุงหญาสลับไมละเมาะ  1,345  ไร  พบในอําเภอเมืองพะเยา  อําเภอภูกามยาว

                  อําเภอดอกคําใต  (ภาพที่ 16)
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74