Page 64 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 64

45




                                   (5)  พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 10,985 ไร หรือรอยละ 0.27  ของเนื้อที่จังหวัด พบมากใน
                  อําเภอเชียงคํา อําเภอแมใจ อําเภอเมืองพะเยาประกอบดวยพื้นที่ปลูก พืชผัก เชน กระเทียม หอมแดง ผลผลิต
                  ประมาณ  794 1,412  กิโลกรัมตอไร  ตามลําดับ  (สํานักงานเกษตรจังหวัดพะเยา, 2558)    นอกจากนั้นมี

                  ผักกาดเขียวปลี ไมดอก ไมประดับ เชน กุหลาบ
                                   (6)  ไรหมุนเวียน  (A6)  มีเนื้อที่  49,323  ไร  หรือรอยละ  1.25  ของเนื้อที่จังหวัด

                  เปนพื้นที่เกษตรกรรมหลักของชุมชนบนพื้นที่สูงที่มีการทําเกษตรกรรม  โดยมีการหมุนเวียนเปลี่ยนพื้นที่ปลูกพืช
                  และทิ้งพื้นที่ไวเพื่อใหดินมีการพักตัวตั้งแต 3 - 7 ป จากนั้นจึงกลับมาทําการเกษตรกรรมใหมอีกครั้งประกอบดวย
                                         -    ขาวโพด  (ไรหมุนเวียน) (A602)  มีเนื้อที่  28,371  ไร  หรือรอยละ  0.72

                  ของเนื้อที่จังหวัด เปนการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แหลงปลูกที่สําคัญ คือ อําเภอปง อําเภอเชียงคํา และอําเภอเชียงมวน
                                         -    ไรราง (ไรหมุนเวียน) (A600) มีเนื้อที่ 17,668 ไร หรือรอยละ 0.45 ของเนื้อ
                  ที่จังหวัด เปนพื้นที่ที่เคยมีการเพาะปลูกพืชไรมากอน แตปจจุบันไมมีการเพาะปลูก และพักพื้นที่ไวโดยไมมีการ
                  เพาะปลูกประมาณ  3  -  7  ป  มีลักษณะเปนพื้นที่ที่มีหญาคา  และไมละเมาะปกคลุม  แหลงปลูกที่สําคัญ  คือ

                  อําเภอปง อําเภอเชียงคํา และอําเภอเชียงมวน
                                         -    ขาวไร (ไรหมุนเวียน) (A616) มีเนื้อที่ 3,284 ไร หรือรอยละ 0.08 ของเนื้อที่
                  จังหวัด  แหลงปลูกที่สําคัญ  คือ  อําเภอปง  อําเภอเชียงคํา  และอําเภอเชียงมวน  เปนการปลูกเพื่อการบริโภค
                  ของประชากรชุมชนบนพื้นที่สูงเปนสวนใหญ  โดยจะเริ่มปลูกประมาณเดือนพฤษภาคม  และเก็บเกี่ยว

                  ในเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม

                                   (7)  ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว (A7) มีเนื้อที่ 1,418 ไร  หรือรอยละ  0.03
                  ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย ทุงหญาเลี้ยงสัตว (A701) มีเนื้อที่ 664 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด
                  โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และมา (A702) มีเนื้อที่ 481 ไร หรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด โรงเรือนเลี้ยง
                  สัตวปก(A703) ) มีเนื้อที่  97 ไร โรงเรือนเลี้ยงสุกร (A704)  มีเนื้อที่ 161 ไร และโรงเรือนราง (A700)

                  มีเนื้อที่ 15 ไร

                                   (8)     พืชน้ํา (A8) ไดแก กก มีเนื้อที่ 5 ไร พบบริเวณอําเภอเชียงคํา

                                   (9)  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (A9) มีเนื้อที่ 11,841 ไร หรือรอยละ 0.29  ของเนื้อ
                  ที่จังหวัด พบมากที่อําเภอเมืองพะเยา อําเภอดอกคําใต อําเภอเชียงคํา และอําเภอภูกามยาาว โดยเปนสถานที่
                  เพาะเลี้ยงปลา (A902) มากที่สุด 11,680 ไร หรือรอยละ 0.29 ของเนื้อที่ทั้งจังหวัด  สถานที่เพาะเลี้ยงกุง (A903)
                  มีเนื้อที่ 59 ไร สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําราง (A900) มีเนื้อที่ 102 ไร


                                   (10)  เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม  (A0)  มีเนื้อที่  963  ไร  หรือรอยละ  0.03
                  ของเนื้อที่จังหวัด  เปนการทําเกษตรผสมผสานหรือไรนาสวนผสม  พบในอําเภอดอกคําใต  อําเภอจุน  และอําเภอ
                  เมืองพะเยา

                                3)  พื้นที่ปาไม (F) มีเนื้อที่ 2,090,616 ไร หรือรอยละ 52.80 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย

                                  (1) ปาไมผลัดใบรอสภาพฟนฟู (F100) มีเนื้อที่ 10,944 ไร หรือรอยละ 0.28 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พบบริเวณอําเภอปง และอําเภอเชียงคํา

                                   (2) ปาไมผลัดใบสมบูรณ (F101) มีเนื้อที่ 885,652 ไร หรือรอยละ 22.37 ของเนื้อที่จังหวัด

                  พบบริเวณอําเภอภูซาง อําเภอเชียงคํา อําเภอปง และอําเภอเชียงมวน
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69