Page 73 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 73

53




                                   2)  พืชไร อื่น ๆ ไดแก พืชไรผสม ออย  ขิง สับปะรด ยาสูบ ถั่วเขียว  ฝาย  กะหล่ําปลี และ
                  พริก มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 13,110  ไร ในป พ.ศ. 2555  เปน 13,586   ไร ในป พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้น 476  ไร หรือ
                  รอยละ 3.63 ของเนื้อที่เดิม โดยมีพื้นที่พืชไรอื่น ๆ คงเดิมจากป พ.ศ. 2555 จํานวน 9,562 ไร และเพิ่มขึ้นการ

                  เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ. 2555 มากที่สุด จํานวน 2,226    ไร พบในอําเภอเชียงมวน
                  อําเภอเมืองพะเยา อําเภอแมใจ รองลงมาเพิ่มขึ้นเปลี่ยนมาจากพื้นที่ปาสมบูรณ จํานวน  785  ไร  พบในอําเภอ
                  เชียงมวน อําเภอปง และเพิ่มขึ้นเปลี่ยนมาจากพื้นที่ปลูกลําไย จํานวน 279 ไร พบในอําเภอเชียงมวน
                                   ในขณะเดียวกันพบวา พื้นที่พืชไร อื่น ๆ ในป พ.ศ. 2555 ลดลง โดยเปลี่ยนแปลงไปเปน
                  การใชที่ดินประเภทอื่น ๆ ในป พ.ศ. 2558 เชนเดียวกัน โดยเปลี่ยนเปนพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ. 2558 มาก

                  ที่สุด จํานวน 1,232  ไร พบมากในอําเภอเชียงมวน อําเภอเมืองพะเยา อําเภอภูกามยาว  รองลงมา ไดแก
                  เปลี่ยนเปนพื้นที่ปลูกยางพารา  จํานวน  733  ไร  พบมากในอําเภอแมใจ  อําเภอเมืองพะเยา  และเปลี่ยนเปน
                  พื้นที่เบ็ดเตล็ด  เชน  ทุงหญาธรรมชาติ  ทุงหญาสลับไมละเมาะ  จํานวน  569   ไร  พบในอําเภอเมืองพะเยา

                  อําเภอแมใจ

                                   3)  ขาวโพด  มีเนื้อที่ลดลงจาก 436,109 ไร ในป พ.ศ. 2555  เปน 399,073 ไร ในป  พ.ศ. 2558
                  โดยมีเนื้อที่ลดลง 37,036 ไร หรือรอยละ 8.49 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีพื้นที่ปลูกขาวโพดคงเดิมจากป พ.ศ. 2555 จํานวน
                  376,576 ไร และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่นา ในป พ.ศ. 2558  มากที่สุด มีเนื้อที่ 23,713 ไร  พบมากในอําเภอเชียงมวน
                  อําเภอภูกามยาว อําเภอดอกคําใต  รองลงมา  ไดแก เปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกยางพารา จํานวน 10,712  ไร พบใน

                  อําเภอดอกคําใต อําเภอเมืองพะเยา อําเภอเชียงคํา และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปารอสภาพฟนฟู จํานวน 7,018 ไร พบใน
                  อําเภอเชียงมวน อําเภอเชียงคํา อําเภอปง  (ภาพที่ 17)
                                   ในขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ.  2558  เพิ่มขึ้นมาจากการเปลี่ยนแปลงการใช
                  ที่ดินประเภทอื่นๆ ในป พ.ศ. 2555  โดยเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวไรจํานวน 4,732  ไร  พบมากใน

                  อําเภอเมืองพะเยา อําเภอเชียงคํา อําเภอเชียงมวน รองลงมาไดแก เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกยางพารา
                  4,380  ไร  พบมากในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอภูซาง อําเภอเชียงมวน และเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกลําไย
                  2,050  ไร  พบมากในอําเภอเชียงมวน อําเภอดอกคําใต อําเภอภูกามยาว (ภาพที่ 18)

                                   4) มันสําปะหลัง  มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก  5,724  ไร  ในป  พ.ศ.  2555    เปน  8,551  ไร  ในป
                  พ.ศ.  2558  เพิ่มขึ้น  2,827  ไร  หรือรอยละ  49.39  ของเนื้อที่เดิม  โดยมีพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังคงเดิมจาก

                  ป  พ.ศ.  2555  จํานวน  5,276  ไร  และเพิ่มขึ้นการเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพดในป  พ.ศ.  2555
                  มากที่สุด จํานวน 2,402 ไร พบในอําเภอปง อําเภอเชียงมวน อําเภอเชียงคํา รองลงมาเพิ่มขึ้นเปลี่ยนแปลงมาจาก
                  พื้นที่ปลูกขาวไร  จํานวน 381 ไร พบในอําเภอเมืองพะเยา และเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกยางพารา จํานวน

                  260 ไร  พบมากในอําเภอเชียงคํา
                                    ในขณะเดียวกันพบวา พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในป พ.ศ. 2555 ลดลง โดยเปลี่ยนแปลงไป
                  เปนการใชที่ดินประเภทอื่นๆ ในป พ.ศ. 2558 เชนเดียวกัน โดยเปลี่ยนเปนพื้นที่ปลูกยางพาราใน
                  ป พ.ศ. 2558 มากที่สุด จํานวน  107 ไร พบมากในอําเภอภูซาง อําเภอดอกคําใต รองลงมา ไดแก เปลี่ยนไป
                  เปนพื้นที่เบ็ดเตล็ด เชน ทุงหญาธรรมชาติ ทุงหญาสลับไมละเมาะ จํานวน 87 ไร พบในอําเภอภูกามยาว
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78