Page 65 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 65

46




                                  (3) ปาผลัดใบรอสภาพฟนฟู (F200) มีเนื้อที่ 49,985 ไร หรือรอยละ 1.26 ของเนื้อที่
                  จังหวัด พื้นที่ปา พบได ทุกอําเภอ ยกเวน อําเภอภูซางที่พบเพียงเล็กนอย

                                  (4) ปาผลัดใบสมบูรณ (F201) มีเนื้อที่ 1,137,959 ไร หรือรอยละ 28.74 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พบได ทุกอําเภอ
                                  (5) ปาปลูกสมบูรณ (F501) มีเนื้อที่ 6,076 ไร หรือรอยละ 0.15 ของเนื้อที่จังหวัด พบมาก

                  ที่อําเภอปง อําเภอเมืองพะเยา
                                4)  พื้นที่น้ํา  (W)  มีเนื้อที่  69,082  ไร  หรือรอยละ  1.76  ของเนื้อที่จังหวัด  ประกอบดวย
                  แหลงน้ําธรรมชาติ  รวมเนื้อที่  40,561  ไร  หรือรอยละ  1.03  ของเนื้อที่จังหวัด  และแหลงน้ําที่สรางขึ้น  เชน

                  อางเก็บน้ํา บอน้ําในไรนา คลองชลประทาน รวมเนื้อที่ 28,521 ไร หรือรอยละ 0.73 ของเนื้อที่จังหวัด
                                   (1)  แหลงน้ําธรรมชาติ ไดแก
                                         -    แมน้ํา  ลําคลอง  (W101)  มีเนื้อที่  20,944  ไร  หรือรอยละ  0.53  ของ
                  เนื้อที่จังหวัด โดยมีแมน้ําหลักที่สําคัญ คือ แมน้ํายม ตนน้ําเกิดบนดอยภูลังกาของเทือกเขาผีปนน้ํา เขตอําเภอปง

                  แมน้ําอิง  เกิดจากการรวมตัวของลําน้ําสายตางๆจากดอยหลวง  ซึ่งเปนเทือกเขาทางทิศตะวันตกของ
                  อําเภอแมใจ ไหลลงสูกวานพะเยา แมน้ําลาว ตนน้ําอยูบริเวณดอยยอดในเขตอําเภอเชียงคํา
                                         -    หนอง บึง ทะเลสาบ (W102) มีเนื้อที่ 19,617 ไร หรือรอยละ 0.50 ของเนื้อ
                  ที่จังหวัด บึงน้ําธรรมชาติที่สําคัญ ไดแก กวานพะเยา เปนแหลงน้ําธรรมชาติที่สําคัญที่สุดและเปนแหลงประมง

                  น้ําจืดที่สําคัญของภาคเหนือตอนบนอีกดวย  และเปนสถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญของจังหวัดพะเยา กวานพะเยา
                  มีเนื้อที่ประมาณ  12,831  ไร  เกิดจากแมน้ําสายตางๆ  ทางเทือกเขาดานตะวันตกของจังหวัด  หนองเล็งทราย
                  เปนแหลงน้ําธรรมชาติของลําน้ําอิง ตั้งอยูในเขตอําเภอแมใจ มีเนื้อที่ประมาณ 4,000 ไร
                                   (2)  แหลงน้ําที่สรางขึ้น ไดแก

                                         -    อางเก็บน้ํา (W201) ซึ่ง มีเนื้อที่มากที่สุด 20,498 ไร หรือรอยละ 0.52 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด กระจายตัวอยูทั่วจังหวัด ที่สําคัญ คือ  อางเก็บน้ําแมสุก  อําเภอแมใจ  จังหวัดพะเยา อางเก็บน้ํา
                  หวยโซ  อําเภอเมืองพะเยา  อางเก็บน้ําหวยเห  อําเภอเมืองพะเยา  อางเก็บน้ําหวยตุน  อําเภอเมืองพะเยา
                  อางเก็บน้ําหวยไฟ อําเภอภูซาง อางเก็บน้ําแมปม อําเภอแมใจ อางเก็บน้ําหวยยัด อําเภอเชียงคํา

                                         -    บอน้ําในไรนา (W202) มีเนื้อที่ 7,375 ไร หรือรอยละ 0.19 ของเนื้อที่จังหวัด
                  และคลองชลประทาน (W203) มีเนื้อที่ 648 ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด

                             5)   พื้นที่เบ็ดเตล็ด (M) มีเนื้อที่ 64,685  ไร หรือรอยละ 1.65  ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย
                  ทุงหญาสลับไมพุม/ไมละเมาะ  (M102)  42,292  ไร  หรือรอยละ 1.07  ของเนื้อที่จังหวัด รองลงมาคือ

                  พื้นที่ลุม (M201) 11,839 ไร หรือรอยละ 0.30 ของเนื้อที่จังหวัด ทุงหญาธรรมชาติ (M101) 4,817 ไร หรือ
                  รอยละ 0.12 ของเนื้อที่จังหวัด  เหมืองแร (M301) 2,028 ไร  หรือรอยละ  0.05 ของเนื้อที่จังหวัด ที่หินโผล
                  (M403) 1,429  ไร หรือรอยละ  0.04  ของเนื้อที่จังหวัด เหมืองเกา บอขุดเกา (M300)  690 ไร หรือรอยละ
                  0.02  ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่ถม (M405)  631 ไร หรือรอยละ  0.02 ของเนื้อที่จังหวัด บอลูกรัง (M302)
                  619  ไร หรือรอยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด บอดิน  (M304)    218  ไร  หรือรอยละ  0.01  ของเนื้อที่

                  จังหวัด และที่ทิ้งขยะ 122 ไร ซึ่งพบกระจายอยูทั่วไปทั้งจังหวัด รายละเอียด ดังแสดงในตารางที่ 4

                  3.2  การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินจังหวัดพะเยา ระหวาง ป พ.ศ. 2555 และ ป พ.ศ. 2558


                             ปญหาการเพิ่มขึ้นของประชากร ทําใหมีความตองการใชที่ดินในกิจกรรมตาง ๆ เพิ่มขึ้น เชน การ
                  ขยายเขตเมือง  เขตอุตสาหกรรม  พื้นที่เกษตรกรรม  ทําใหเกิดปญหาขึ้นมากมายจากการใชประโยชนที่ดินที่
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70