Page 12 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 12

IX




                              3)    พื้นที่ปลูกยางพาราใหมในจังหวัดพะเยาสวนใหญเปนยางพันธุ  RRIM 600  ถึงแมวาจะ
                   เปนพันธุยางที่ใหผลผลิตน้ํายางในปริมาณที่สูงแตเปนพันธุที่ออนแอตอโรคใบรวงที่เกิดจากเชื้อไฟทอป
                   โทราและโรคเสนดําดังนั้นการปลูกพืชในเชิงอุตสาหกรรมโดยไมคํานึงถึงความหลากหลายทางชีวภาพอาจจะ

                   สงผลกระทบตอผลผลิตและรายไดของเกษตรกรไดในกรณีที่เกิดโรคระบาด
                         3.3 ขอเสนอแนะอื่นๆ
                              1)    ควรพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับสินคา โดยเฉพาะ
                   สินคาที่มีศักยภาพในพื้นที่  เชน  ขาวหอมมะลิ  ยางพารา  ลําไย  ลิ้นจี่  โดยเนนการพัฒนาแบบครบวงจร
                   เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐานความปลอดภัย  ลดตนทุนการผลิตแปรรูป/บรรจุภัณฑ  การวิจัยศึกษา

                   และการสรางความเขมแข็งใหกับเกษตรกรและผูประกอบการ เพื่อไปเชื่อมโยงกับตลาด
                              2)    เสริมสรางความเขมแข็งตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสงเสริมการเกษตร
                   ครบวงจร เกษตรผสมผสานแทนเกษตรเชิงเดี่ยว สงเสริมเกษตรปลอดภัยสูเกษตรอินทรีย การแปรรูป การตลาดการ

                   พัฒนาสถาบันเกษตรกร รวมถึงสนับสนุนกิจกรรมเกษตรปลอดภัยและขยายพื้นที่ใหมเพื่อการผลิตสินคา
                   เกษตรสูตลาด
                              3)    สงเสริมปจจัยการผลิต พัฒนาคุณภาพดิน การบริหารจัดการ น้ํา การเพิ่มพื้นที่ชลประทาน
                   ปรับปรุงพันธุพืชพันธุสัตว  และการคมนาคม  สงเสริมผลิตภัณฑชุมชน  (OTOP)  โดยยกระดับ

                   มาตรฐานตามผลิตภัณฑชุมชน        สงเสริมแหลงเงินทุนหมูบานสงเสริมโครงการอันเนื่องมากจาก
                   พระราชดําริสงเสริมการทองเที่ยวเพื่อเพิ่มรายไดใหแกชุมชน
                              4)    ดูแลและปองกัน ทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณที่ยังคงอยูในปจจุบันและการจัดการ
                   สิ่งแวดลอมที่ดี ทั้งดิน น้ําปาไม ใหคงสภาพที่ดีตอไป รวมถึงสงเสริมการบริหารการจัดการ

                   ทรัพยากรธรรมชาติโดยการมีสวนรวมของชุมชนเชน การสงเสริมการปลูกปา การปราบปรามการบุกรุก
                   ทําลายปา การสรางฝาย ปลูกแฝก และการบริหารจัดการแหลงน้ําขนาดเล็ก
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17