Page 15 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 15

3





                              4)  ปรับแกไขขอมูลภาพดาวเทียมสํารวจทรัพยากร ใหมีระบบพิกัดตามระบบพิกัดของรูปถาย
                   ทางอากาศออรโธสีโดยใชวิธี Ortho rectification image ระบบพิกัด WGS 1984 UTM Zone 47
                   (กรณีที่ใชขอมูลภาพดาวเทียมที่ไมมีคาใชจายจากแหลงอื่นๆนอกเหนือจากที่กรมพัฒนาที่ดินจัดใหที่ยังไมได

                   มีการปรับแกขอมูล)
                              5)  ทําการนําเขาขอมูลเพื่อจําแนกสภาพการใชที่ดินปจจุบันจากภาพสีผสมขอมูลดาวเทียม
                   สํารวจทรัพยากรตามประเภทการใชประโยชนที่ดินในแตละประเภทตามที่กรมพัฒนาที่ดินกําหนดไว
                   (ภาคผนวก ข.) โดยใชวิธีการแปลดวยสายตาในรูปแบบเชิงเลขและใชขอมูลอื่นๆเชน ขอมูลสภาพการใชที่ดิน
                   แผนที่การใชที่ดินรายพืชเศรษฐกิจแผนที่ขอบเขตการปกครองและขอมูลอื่นๆที่อยูในรูปแบบเชิงเลขมา

                   ประกอบในการแปลดวยสายตาตามหลักของการใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลซึ่งพิจารณาจากขอมูลที่
                   ปรากฏเชนสี (Color Tone) ตําแหนง (Location) และรูปแบบ (Pattern) ตางๆการแปลภาพเพื่อจําแนกวัตถุ
                   ไดดีและถูกตองขึ้นอยูกับองคประกอบตางๆอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางพรอมๆ กัน ตามความยาก

                   งายหรืออาจใชเปนองคประกอบในการแปลภาพพื้นที่หนึ่งหรือลักษณะหนึ่ง สวนอีกบริเวณหนึ่งของพื้นที่
                   เดียวกันอาจจะใชองคประกอบอีกอยางหนึ่งก็ไดดังนี้
                                    -     ความเขมของสีและประเภทสี (tone/color) ระดับความแตกตางของความเขมของสี
                   หนึ่งๆขึ้นอยูกับชนิดของวัตถุตลอดจนการเรียงตัวของวัตถุเชนปาไมทึบมีคลอโรฟลลมากปรากฏสีเขมปาโปรง

                   มีสีจางน้ําลึกปรากฏสีดําหรือเขม น้ําตื้นหรือขุนมีสีจาง
                                    -     ขนาด (Size) ขนาดของวัตถุที่ปรากฏในภาพ ซึ่งสัมพันธกับมาตราสวนของภาพที่
                   ปรากฏในรูปของความยาวกวางหรือพื้นที่เชนความแตกตางระหวางแมน้ําและคลองพื้นที่ปาไมธรรมชาติ
                   และสวนปา

                                    -     รูปราง  (Shape)  รูปรางของวัตถุที่เปนเฉพาะตัวอาจมีรูปรางสม่ําเสมอหรือรูปรางไม
                   สม่ําเสมอ เชน สนามบิน พื้นที่นาขาว ถนน แมน้ํา คลองชลประทาน และเขื่อนกักเก็บน้ํา
                                    -     เนื้อภาพ  (Texture)  หรือความหยาบละเอียดของผิววัตถุเปนผลมาจากความ
                   สม่ําเสมอของวัตถุที่รวมกันอยู เชน สวนยางพารามีเนื้อภาพละเอียดเนื่องจากมีขนาดความสูงใกลเคียงกันซึ่ง

                   แตกตางจากพืชไร และสวนผสม
                                    -     รูปแบบ (Pattern) ลักษณะการจัดเรียงตัวของวัตถุปรากฏเดนชัดระหวางความ
                   แตกตางตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น เชน แมน้ําคลองกับคลองชลประทานบอสระน้ํา และเขื่อน

                   เปนตน
                                    -    ความสูงและเงา (Height  and  Shadow) เงาของวัตถุมีความสําคัญในการ
                   พิจารณาความสูงและมุมของดวงอาทิตยเชนเงาบริเวณเขาหรือหนาผาเงาของเมฆ
                                    -     พื้นที่  (Site)  หรือตําแหนงของวัตถุที่พบตามธรรมชาติ เชน พื้นที่ชายเลน
                   พบบริเวณชายฝงทะเลน้ําทวมถึง สนามบินอยูใกลแหลงชุมชน

                                    -     ความเกี่ยวพัน (Association) วัตถุบางอยางมีความเกี่ยวพันกับสิ่งแวดลอมอื่น ๆ
                   เชนบริเวณที่มีตนไมเปนกลุม ๆ มักเปนที่ตั้งของหมูบานไรเลื่อนลอยอยูในพื้นที่ปาไมบนเขา ในการแปลตีความ
                   ภาพถายบางครั้งการตัดสินใจแยกแยะวัตถุทําไดยากเนื่องจากมีความคลายคลึงกัน ดังนั้นสิ่งแวดลอมที่อยู

                   รอบ ๆ ภาพหรือวัตถุที่เราตองการจะพิจารณานั้นอาจเปนตัวชวยในการแปลความหมายได
                              6)    สํารวจขอมูลภาคสนามเพื่อใชเปนฐานขอมูลในการปรับปรุงแผนที่สภาพการใชที่ดิน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20