Page 11 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 11

VIII




                              7)    ไรหมุนเวียน มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 47,379 ไร ในป พ.ศ. 2555 เปน  49,323 ไร ในป พ.ศ.
                   2558 เพิ่มขึ้น 1,944 ไร หรือรอยละ 4.10 ของเนื้อที่เดิม
                              8)   พื้นที่เกษตรกรรมอื่น ๆ  มีเนื้อที่ลดลง จาก  31,476  ไร ในป พ.ศ.  2555  เปน  25,212  ไร

                   ในป พ.ศ. 2558 ลดลง 6,264 ไร หรือรอยละ 19.90 ของเนื้อที่เดิม
                         2.3  พื้นที่ปาไม โดยภาพรวมพื้นที่ปาไมของจังหวัดพะเยาเพิ่มขึ้นจาก  2,089,321 ไร ในป พ.ศ.  2555
                   เปน 2,090,616 ไร ในป พ.ศ. 2558 หรือมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น  1,295 ไร หรือรอยละ 0.06 ของเนื้อที่เดิม โดยเมื่อ
                   พิจารณาในรายละเอียดพบวา
                              1)    พื้นที่ปาสมบูรณ ลดลงจาก 2,036,460  ไร ในป พ.ศ.  2555  เปน  2,029,687  ไร

                   ในป พ.ศ. 2558 พื้นที่ปาไมสมบูรณลดลง 6,773 ไร หรือลดลงรอยละ 0.33 ของเนื้อที่เดิม
                              2)    ปารอสภาพฟนฟู เพิ่มขึ้นจาก 52,861  ไร ในป พ.ศ.  2555  เปน   60,929   ไร ในป
                   พ.ศ. 2558 พื้นที่ปารอสภาพฟนฟูเพิ่มขึ้น 8,068 ไร หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 15.26 ของเนื้อที่เดิม

                         2.4  พื้นที่น้ํา มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น จาก 66,020  ไรในป พ.ศ.  2555  เปน   69,082  ไร ในป พ.ศ.  2558
                   พื้นที่น้ําเพิ่มขึ้น 3,062 ไร หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 4.64 ของเนื้อที่เดิม
                         2.5  พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น จาก 60,207  ไรในป พ.ศ.  2555  เปน  64,685  ไร ในป
                   พ.ศ. 2558 พื้นที่เบ็ดเตล็ดเพิ่มขึ้น 4,478 ไร หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 7.48 ของเนื้อที่เดิม


                   3. ขอเสนอแนะ

                         3.1  การสํารวจสภาพการใชที่ดินโดยใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลจากการใชขอมูลภาพถายดาวเทียม
                   ทําใหการสํารวจทําไดอยางรวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ที่การคมนาคมยังไมสะดวกทําให

                   สามารถสํารวจไดครอบคลุมพื้นที่มากยิ่งขึ้นแตการใชขอมูลดาวเทียมยังมีขอจํากัดอยูบางในบางครั้งระยะ
                   เวลาการถายภาพที่ไดจะไมตรงกับฤดูกาลเพาะปลูกเนื่องมาจากขอจํากัดของระบบการถายภาพที่ไมสามารถ
                   ถายภาพผานชั้นเมฆได จึงตองใชขอมูลภาพถายดาวเทียมที่ไมตรงกับฤดูเพาะปลูกทําใหการตีความโดยใช
                   ภาพถายดาวเทียมเพียงอยางเดียวจึงอาจทําใหเกิดความผิดพลาดไดดังนั้นจึงควรตรวจสอบความถูกตองโดย

                   การใชแผนที่การใชที่ดินในอดีต ภาพถายออรโธสี การสํารวจภาคสนาม และการสอบถามขอมูลในพื้นที่
                   จึงมีความจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                         3.2  ผลของการศึกษาสภาพการใชที่ดิน และการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินจังหวัดพะเยาระหวาง

                   ป พ.ศ. 2555 และ ป พ.ศ. 2558 พบประเด็นที่เปนขอเสนอแนะเปนแนวทางปฏิบัติในการจัดการพัฒนาการ
                   ใหถูกตองเหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดินสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อนําไปสูการใชที่ดินอยางยั่งยืนดังนี้
                              1)    ในปการผลิต  2555-2558  ผลผลิตพืชสําคัญของจังหวัดพะเยาลดลง  เชน  ขาวโพด
                   เนื่องจากเกิดความแหงแลงกระจายทั่วทั้งจังหวัด  ทําใหพื้นที่ปลูกขาวโพดลดลงอยางมาก  บางสวนเกษตรกร
                   เปลี่ยนพื้นที่ไปปลูกมันสําปะหลังแทน  สวนพื้นที่ปลูกยางพาราเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย  เนื่องจากเกษตรกรตอง

                   ประสบกับราคายางตกต่ําตอเนื่องมาตลอด จึงลดแรงจูงใจในการเพิ่มพื้นที่ปลูก
                              2)  พื้นที่ที่ปาสมบูรณในจังหวัดพะเยาลดลงเล็กนอยในระยะเวลา  3  ปเนื่องจากราคา
                   ผลผลิตทางการเกษตรตกต่ํามาตลอด จึงลดแรงจูงใจใหเกษตรกรบุกรุกแผวถางปาเพื่อปลูกพืช ในระยะ

                   ยาวเมื่อราคาผลผลิตพืชกลับมาสูงขึ้น จังหวัดพะเยาอาจจะประสบปญหาการบุกรุกทําลายปา ดังนั้นหนวยงาน
                   ที่เกี่ยวของจึงควรตองเตรียมมาตรการปองกันลวงหนา
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16