Page 9 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 9

บทสรุปสําหรับผูบริหาร


                                    รายงานสภาพการใชที่ดิน และการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน


                                                   จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2558


                         จังหวัดพะเยามีการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดินอยางตอเนื่องตลอดเวลา  จึงทําใหมีความจําเปนตอง
                   มีการติดตามการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดินใหมีความเปนปจจุบัน กรมพัฒนาที่ดินจึงนําเทคโนโลยีดานระบบ
                   ภูมิสารสารสนเทศ มาใชเปนเครื่องมือในกระบวนการรวบรวม จัดเก็บ วิเคราะหขอมูลแผนที่และฐานขอมูล
                   และการแสดงผล ไดอยางถูกตองรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ในการจัดทําแผนที่สภาพการใชที่ดิน มาตราสวน

                   1:25,000  ดวยการแปลขอมูลดาวเทียมสํารวจทรัพยากรไทยโชตดวยสายตาโดยใชโปรแกรมประยุกต
                   ภูมิสารสนเทศตาง ๆ เปนเครื่องมือ และวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินจังหวัดพะเยา
                   ในป พ.ศ. 2555–  2558 ซึ่งสามารถนําไปใชในการกําหนดยุทธศาสตร การกําหนดเขตเพาะปลูกที่เหมาะสม
                   การประเมินผลผลิตของพืชเศรษฐกิจ  ที่สําคัญ การจัดการดินและน้ําใหเปนแหลงผลิตเกษตรปลอดภัย รวมถึง

                   การจัดการดานโลจิสติกส (Logistics) เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนของจังหวัดพะเยาตอไป ระยะการดําเนินงาน
                   9 มิถุนายน ถึง วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558


                   1.  สภาพการใชที่ดินจังหวัดพะเยา ป พ.ศ. 2558

                         ผลการดําเนินการ  พบวา  จากเนื้อที่จังหวัดพะเยาทั้งหมด  3,959,412  ไร  สามารถจําแนกประเภท
                   การใชที่ดินได 5 ประเภทใหญๆ ดังนี้


                         1.1  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง (U)  มีเนื้อที่ 145,861  ไร หรือรอยละ 3.69  ของเนื้อที่จังหวัด
                   พื้นที่สวนใหญเปนที่อยูอาศัยชุมชนทั้งพื้นที่ราบ มีเนื้อที่รวม 91,206  ไร หรือรอยละ 2.30  ของเนื้อที่จังหวัด
                   รองลงมาไดแก ตัวเมืองและยานการคา รวมเนื้อที่ 23,321 ไร หรือรอยละ  0.59  ของเนื้อที่จังหวัด และสถานที่
                   ราชการและสถาบันตาง ๆ มีเนื้อที่ 22,087 ไร หรือรอยละ 0.56 ของเนื้อที่จังหวัด ตามลําดับ

                         1.2  พื้นที่เกษตรกรรม (A) มีเนื้อที่ 1,589,168 ไร หรือรอยละ 40.10 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย

                              1)    พื้นที่นา (A1) มีเนื้อที่ 745,685 ไร หรือรอยละ 18.84 ของเนื้อที่จังหวัด
                              2)    พืชไร (A2) มีเนื้อที่ 449,089 ไร หรือรอยละ 11.34 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย
                   พืชเศรษฐกิจที่สําคัญ คือ
                                    (1)  ขาวโพด (A202) มีเนื้อที่ 399,073 ไร หรือรอยละ 10.08 ของเนื้อที่จังหวัด
                                    (2)  ขาวไร (A216) มีเนื้อที่ 27,879 ไร หรือรอยละ 0.70 ของเนื้อที่จังหวัด

                                    (3)  มันสําปะหลัง (A204) มีเนื้อที่ 8,551 ไร หรือรอยละ 0.22 ของเนื้อที่จังหวัด
                              3)    ไมยืนตน (A3) มีเนื้อที่ 174,639 ไร หรือรอยละ 4.39 ของเนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย
                   พืชเศรษฐกิจที่สําคัญ คือ

                                    (1)  ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ปลูก 135,826 ไร หรือรอยละ 3.43 ของเนื้อที่จังหวัด

                                    (2)  สัก (A305) มีเนื้อที่ 31,069 ไร หรือรอยละ 0.78 ของเนื้อที่จังหวัด
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14