Page 50 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 50

3-6





                                     - หนวยที่ดินที่ 39 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 43,688    ไร

                  หรือรอยละ 3.85 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 39b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 372 ไร
                  หรือรอยละ 0.03 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    - หนวยที่ดินที่ 39B สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 84,042 ไร

                  หรือรอยละ 7.39 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 39Bb สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเลกนอย มีการปนคันนา
                  เพื่อปลูกขาว มีเนื้อที่ 2,058 ไร หรือรอยละ 0.18 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 39C สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 33,853 ไร หรือรอยละ

                  2.98 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                    -  หนวยที่ดินที่  39gm  เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 26,920 ไร หรือรอยละ 2.37 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                -  หนวยที่ดินที่  39gmb  เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการปนคันนาเพื่อทําการปลูกขาว มีเนื้อที่ 49 ไร หรือรอยละ 0.04 ของพื้นที่
                  ลุมน้ําสาขา

                                (5)  กลุมชุดดินที่เปนดินทรายลึกมาก เปนกลุมดินที่พบในเขตฝนตกชุก หรือ

                  บริเวณชายฝงทะเล เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของ
                  หินเนื้อหยาบ หรือจากตะกอนทรายชายทะเล บนพื้นที่ดอน บริเวณหาดทราย สันทรายชายทะเลหรือ

                  บริเวณที่ลาดเชิงเขา เปนกลุมดินลึก มีการระบายน้ําคอนขางมากเกินไป เนื้อดินเปนดินทรายปนดิน

                  รวนหรือดินทราย ดินมีสีเทา สีน้ําตาลออน  หรือเหลือง ถาพบบริเวณสันทรายชายทะเลจะมีเปลือก
                  หอยปะปนอยูในเนื้อดิน ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรด

                  เล็กนอย มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-6.5  แตถามีเปลือกหอยปะปนจะมีปฏิกิริยาเปนดาง

                  ปานกลาง ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินเปนทรายจัด ทําใหมีความสามารถใน
                  การอุมน้ําไดนอย พืชจะแสดงอาการขาดน้ําเมื่อฝนทิ้งชวง นอกจากนี้ดินยังมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                  ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกไมยืนตน และไมผล บางแหงเปนปาละเมาะหรือทุงหญาธรรมชาติ

                  แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                     -  หนวยที่ดินที่ 43 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 12,220 ไร
                  หรือรอยละ 1.07 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    -   หนวยที่ดินที่ 43b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการปนคันนา

                  เพื่อทําการปลูกขาวมีเนื้อที่ 112 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55