Page 46 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 46

3-2





                  มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน การระบายน้ําเลว ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา คาความเปนกรด-ดาง

                  ดินบนอยูระหวาง 5.0-6.5 คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ํา และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่

                  เปนดางต่ํา พบในพื้นที่ลุมต่ํา มีน้ําไหลบาทวมขังสูงในฤดูฝน ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชทํา
                  นา บางพื้นที่มีการยกรองเพื่อปลูกไมยืนตน เชน ปาลมน้ํามัน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    - หนวยที่ดินที่ 6 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 5,630 ไร

                  หรือรอยละ 0.50 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    - หนวยที่ดินที่ 6M  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง
                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 1,434 ไร หรือรอยละ 0.12 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (2)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนละเอียดลึกมาก เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดิน

                  พวกตะกอนลําน้ํา และ/หรือการสลายตัวผุพังอยูกับที่แลวถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของ
                  หินเนื้อหยาบ ในบริเวณที่ราบมีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน

                  เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ําสวนใหญคอนขางเลว เนื้อดินบนเปนพวกดินรวนปนทรายหรือ

                  ดินรวน ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย หรือดินรวนเหนียว มีสีน้ําตาลออนถึงสีเทา พบจุดประ

                  พวกสีน้ําตาล สีเหลือง หรือสีแดงปะปน บางแหงอาจพบศิลาแลงออนหรือกอนสารเคมีสะสมพวก
                  เหล็กและแมงกานีสในดินชั้นลาง  ดินมีความสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึง

                  เปนกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5  ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชทํานา

                  หรือไมยืนตน แตมีปญหาเรื่องการแชขังของน้ําในฤดูฝน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ
                                    -  หนวยที่ดินที่  17 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 1,646 ไร

                  หรือรอยละ 0.14ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่  17M สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง
                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 767 ไร หรือรอยละ 0.07ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่  17MI สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 298 ไร หรือรอยละ 0.03 ของพื้นที่
                  ลุมน้ําสาขา

                                (3)  กลุมชุดดินที่เปนดินทรายลึกมาก เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุกําเนิดดินพวก

                  ตะกอนน้ําทะเล หรือวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําที่ไดรับอิทธิพลของน้ําทะเล ในบริเวณที่ลุม

                  ระหวางสันหาดหรือเนินชายฝงทะเล บริเวณที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน
                  เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว เนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวน หรือดินรวนปนทราย

                  สีดินเปนสีเทา พบจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง บางแหงมีเปลือกหอยปะปนอยูในเนื้อดิน มีความอุดม

                  สมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดาง





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51