Page 48 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 48

3-4





                  ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก สวนบริเวณที่หนาดินมีทรายปน และมีความลาดชันสูงมี

                  อัตราเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดินมากหากมีการจัดการดินไมเหมาะสม ปจจุบันบริเวณดังกลาว

                  ใชปลูกไมยืนตน ไมผลตางๆ บางพื้นที่มีการปนคันนาเพื่อใชปลูกขาว แตพื้นที่ปลูกมีเพียงเล็กนอย
                  บางแหงยังคงสภาพปาธรรมชาติ แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                - หนวยที่ดินที่ 26C สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 127 ไร หรือรอยละ

                  0.01 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 26E  สภาพพื้นที่เปนเนินเขา มีเนื้อที่ 316 ไร หรือรอยละ 0.03

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                (2)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนหรือดินทรายแปงละเอียด เกิดจากการทับถมของตะกอน

                  ลําน้ําบริเวณสันดินริมน้ํา บนพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนกลุมดินลึกที่มี

                  การระบายน้ําดี เนื้อดินเปนพวกดินรวน หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง บางแหงอาจมีชั้นดินทราย
                  ละเอียดสลับชั้นอยูและมักมีแรไมกาปะปนในเนื้อดิน สีดินเปนสีน้ําตาลหรือสีเหลืองปนน้ําตาล ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความ

                  เปนกรด-ดางดินบนอยูระหวาง 4.5-6.0 คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลาง และความอิ่มตัว

                  ดวยประจุบวกที่เปนดางต่ํา ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ ไมผลตางๆ เชน
                  มังคุด เงาะ บางพื้นที่คงสภาพเปนทุงหญาตามธรรมชาติ พื้นที่ในหนวยที่ดินเหลานี้ไมคอยมีปญหาใน

                  เรื่องคุณสมบัติของดิน แตอาจมีปญหาเรื่องน้ําทวม สรางความเสียหายใหแกพืชผลที่ปลูก หากน้ําใน

                  ลําน้ํามีปริมาณมากจนไหลเออทวมตลิ่ง และแชขังอยูเปนเวลานาน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ
                                - หนวยที่ดินที่  32  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 4,531 ไร

                  หรือรอยละ 0.40 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่  32gm  เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 34,961 ไร หรือรอยละ 3.08 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                - หนวยที่ดินที่  32gmb  เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา  สภาพพื้นที่

                  เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีการปนคันนาเพื่อทําการปลูกขาว มีเนื้อที่ 657 ไร หรือรอยละ 0.06 ของ

                  พื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                (3)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนละเอียด เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหิน

                  ตนกําเนิดชนิดตาง ๆ แลวถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของหินเนื้อหยาบ ทั้งหินอัคนี หรือหิน

                  ตะกอน หรือมาจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา บริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ
                  คอนขางราบเรียบ ถึงเนินเขา เปนกลุมดินลึกมากมีการระบายน้ําดี มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย

                  สวนดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53