Page 52 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 52

3-8





                         -            หนวยที่ดินที่ 51 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 3,522 ไร

                  หรือรอยละ 0.31 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    -  หนวยที่ดินที่  51C สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 365 ไร หรือรอยละ
                  0.03 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 51D สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 422 ไร หรือรอยละ 0.04

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (8)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนที่เกิดจากดินตะกอนน้ําพาเชิงซอน กลุมดินนี้พบบริเวณ
                  สันดินริมน้ํา บริเวณพื้นที่แนวตะกอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางเรียบ เกิดจากตะกอนลําน้ํา

                  พัดพามาทับถมกัน มีการผสมกันของตะกอนหลายชนิด ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง

                  สวนใหญเปนดินลึก เนื้อดินเปนพวกดินรวน บางแหงมีชั้นดินที่มีเนื้อดินคอนขางเปนทราย หรือมีชั้น
                  กรวด ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอนตางยุคของดินอันเปนผลมาจากการเกิดน้ําทวมใหญในอดีต ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณปานกลาง และปฏิกิริยาเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดาง

                  ของดินบน ประมาณ 6.0-7.0 เนื่องจากหนวยแผนที่นี้เปนหนวยผสมของดินหลายชนิด ดังนั้นในแผน

                  ที่ดินระดับจังหวัด จึงเรียกวาเปนพวกดินตะกอนลําน้ําที่มีการระบายน้ําดีปจจุบันดินนี้มีการใช
                  ประโยชนคอนขางกวางขวาง บางแหงดัดแปลงพื้นที่ทํานา นิยมใชปลูกไมผล และไมยืนตน แบงเปน

                  หนวยที่ดินตางๆ คือ

                                     - หนวยที่ดินที่ 60 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 16,762 ไร
                  หรือรอยละ 1.47 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    - หนวยที่ดินที่ 60b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการปนคันนา

                  เพื่อทําการปลูกขาว มีเนื้อที่ 258 ไร หรือรอยละ 0.02 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                         -            หนวยที่ดินที่ 60D สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นชัน มีเนื้อที่ 329 ไร หรือรอยละ 0.03

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (8)   หนวยที่ดินที่ประกอบดวยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35
                  พื้นที่บริเวณนี้ยังไมมีการสํารวจและจําแนกดิน ควรอนุรักษไวเปนแหลงตนน้ําลําธาร ไดแก หนวยที่ดินที่ 62

                  (SC : พื้นที่ลาดชันเชิงซอน) มีเนื้อที่ 567,060 ไร หรือรอยละ 49.89 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา


                             3)  หนวยเบ็ดเตล็ด มีดังนี้

                            (1)   พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (AQ) มีเนื้อที่ 1,686 ไร หรือรอยละ 0.14 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                            (2)   ที่ดินดัดแปลง (ML) มีเนื้อที่ 90 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (3)   พื้นที่หินโผล (RL)  มีเนื้อที่ 10,680 ไร หรือรอยละ 0.94 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา







                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57