Page 47 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองนาทวี
P. 47

3-5





                  สีดินเป็นสีเทา พบจุดประสีน้้าตาล สีเหลือง บางแห่งมีเปลือกหอยปะปนอยู่ในเนื้อดินมีความอุดมสมบูรณ์

                  ตามธรรมชาติต่้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 6.0-7.0

                  แต่ถ้ามีเปลือกหอยปะปนอยู่ ค่าความเป็นกรดเป็นด่างจะอยู่ประมาณ 7.0-8.5 ปัจจุบันบริเวณดังกล่าว
                  เป็นที่ลุ่ม ส่วนใหญ่ใช้ท้านา บางแห่งทิ้งให้รกร้างว่างเปล่า มีวัชพืชต่างๆ ขึ้นอยู่ทั่วไป แบ่งเป็นหน่วย

                  ที่ดินต่าง ๆ คือ

                                    - หน่วยที่ดินที่  23 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 11,708 ไร่

                  หรือร้อยละ 1.19 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                - หน่วยที่ดินที่  23M สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกร่องเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 14,732 ไร่ หรือร้อยละ 1.50 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                              -  หน่วยที่ดินที่  23/43  เป็นหน่วยที่ดินรวม หรือ หน่วยที่ดินเชิงซ้อน ประกอบด้วย

                  หน่วยที่ดินที่  23 และ หน่วยที่ดิน 43 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 4,829 ไร่
                  หรือร้อยละ 0.49 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 23I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีระบบ

                  ชลประทาน มีเนื้อที่ 2,580 ไร่ หรือร้อยละ 0.26 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                - หน่วยที่ดินที่ 23MI สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกร่องเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 1,543 ไร่ หรือร้อยละ 0.16 ของ

                  พื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                (7)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินร่วนที่เกิดจากดินตะกอนน้้าพาเชิงซ้อน กลุ่มดินนี้พบ

                  บริเวณที่ราบลุ่มหรือบริเวณพื้นล่างของเนิน หรือหุบเขา ที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ

                  เกิดจากตะกอนล้าน้้าพัดพามาทับถมกัน มีการผสมกันของตะกอนหลายชนิด ดินที่พบส่วนใหญ่มีการ
                  ระบายน้้าค่อนข้างเลวถึงเลว มีลักษณะและคุณสมบัติต่าง ๆ เช่น เนื้อดิน สีดิน ความลึกของดิน

                  ปฏิกิริยาดิน ตลอดจนความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุต้นก้าเนิด

                  ดินในบริเวณนั้น ๆ ส่วนมากมีก้อนกรวดและเศษหินปะปนอยู่ในเนื้อดินด้วย เนื่องจากหน่วยแผนที่นี้

                  เป็นหน่วยผสมของดินหลายชนิด ดังนั้นในแผนที่ดินระดับจังหวัด จึงเรียกว่าเป็นพวกดินตะกอนล้าน้้า
                  ที่มีการระบายน้้าเลว ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ประโยชน์ในการท้านา ส่วนในฤดูแล้ง ถ้ามีแหล่งน้้า

                  นิยมใช้ปลูกพืชผัก แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่าง ๆ คือ

                                  -  หน่วยที่ดินที่  59 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 2,371 ไร่
                  หรือร้อยละ 0.24 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่  59M สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกร่องเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 5,899 ไร่ หรือร้อยละ 0.60 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา






                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองนาทวี
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52