Page 50 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองนาทวี
P. 50

3-8





                                     -  หน่วยที่ดินที่ 39 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 30,866 ไร่

                  หรือร้อยละ 3.15 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 39b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 778 ไร่
                  หรือร้อยละ 0.08 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                    - หน่วยที่ดินที่ 39B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 47,947 ไร่

                  หรือร้อยละ 4.88 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                -  หน่วยที่ดินที่ 39Bb สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล้กน้อย มีการปั้นคันนาเพื่อ
                  ปลูกข้าว มีเนื้อที่ 226 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 39C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 27,165 ไร่ หรือร้อยละ

                  2.77 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                     -  หน่วยที่ดินที่  39gm  เป็นดินที่ได้รับอิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า สภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 34,489 ไร่ หรือร้อยละ 3.51 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                -  หน่วยที่ดินที่ 39gmb เป็นดินที่ได้รับอิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการปั้นคันนาเพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 809 ไร่ หรือร้อยละ 0.08 ของ
                  พื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (4)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินทรายลึกมาก เป็นกลุ่มดินที่พบในเขตฝนตกชุก หรือ

                  บริเวณชายฝั่งทะเล เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของ
                  หินเนื้อหยาบ หรือจากตะกอนทรายชายทะเล บนพื้นที่ดอน บริเวณหาดทราย สันทรายชายทะเลหรือ

                  บริเวณที่ลาดเชิงเขา เป็นกลุ่มดินลึก มีการระบายน้้าค่อนข้างมากเกินไป เนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน

                  หรือดินทราย ดินมีสีเทา สีน้้าตาลอ่อน  หรือเหลือง ถ้าพบบริเวณสันทรายชายทะเลจะมีเปลือกหอย
                  ปะปนอยู่ในเนื้อดิน ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง

                  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-7.0  แต่ถ้ามีเปลือกหอยปะปนจะมีปฏิกิริยาเป็นด่าง

                  ปานกลาง ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินเป็นทรายจัด ท้าให้มีความสามารถในการ

                  อุ้มน้้าได้น้อย พืชจะแสดงอาการขาดน้้าเมื่อฝนทิ้งช่วง นอกจากนี้ดินยังมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า
                  ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกไม้ยืนต้น และไม้ผล บางแห่งเป็นป่าละเมาะหรือทุ่งหญ้าธรรมชาติ

                  แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ

                                     -  หน่วยที่ดินที่ 43 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 12,500 ไร่
                  หรือร้อยละ 1.27 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                    -  หน่วยที่ดินที่ 43b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการปั้นคันนา

                  เพื่อท้าการปลูกข้าวมีเนื้อที่ 1,048 ไร่ หรือร้อยละ 0.11 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา






                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55