Page 134 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 134

3-66





                                   S3: ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                                   N: ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม

                                   ผลจากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินของลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนารา
                  สามารถจําแนกการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินในระดับชั้นยอยโดยแยกเปนเขตเกษตรที่อาศัยน้ําฝน

                  (ตารางที่ 3-14) และเขตพื้นที่เกษตรน้ําฝนมีการใชน้ําจากแหลงน้ําตามธรรมชาติและแหลงน้ําใต

                  ดินในการเพาะปลูกพืช (ตารางที่ 3-15) มีรายละเอียดดังนี้
                                 1)  เขตพื้นที่เกษตรน้ําฝน  จากการสํารวจภาคสนามในเขตพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                  แมน้ําบางนารา ไดดําเนินการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน

                  และไดจัดทําการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามพืชทางเลือกที่สามารถสงเสริมใหเพาะปลูก

                  ในลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนารามีรายละเอียดดังนี้
                                       (1) ความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใชประโยชนที่ดิน ในลุมน้ําสาขา

                  แมน้ําบางนารา ประกอบดวย ยางพารา ปาลมน้ํามัน มะพราว ขาวนาป มีความเหมาะสมของที่ดินตาม

                  คุณลักษณะของที่ดินไดดังนี้

                                       ยางพารา
                                        -ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ไดแก หนวยที่ดิน 26 26B 26C 26D

                  32 32B 34 34B 34C 34D 39 39B 42 42B 43 43B 43D 50B 53B 53C 53D 57M 57M/58M โดยมี

                  ขอจํากัด คือ  ศักยภาพการใชเครื่องจักร  ความเสียหายจากการกัดกรอนความชุมชื้นที่เปนประโยชน

                  ตอพืช ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร สภาวะการหยั่งลึกของราก
                                        -ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ไดแก หนวยที่ดิน  2M  6M 13/14M

                  14M 17M  26E 32gm 34gm 34gmB 39gm 45C 45C/53C 45D 45D/53D 45E/53E 50E  51B 51C

                  51D 51E 53E 57 โดยมีขอจํากัด คือ ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช สภาวะการหยั่งลึก

                  ของราก ศักยภาพการใชเครื่องจักร ความเสียหายจากการกัดกรอน
                                        ปาลมน้ํามัน

                                        -ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ไดแก หนวยที่ดิน 26 26B 32 32B

                                        -ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ไดแก หนวยที่ดิน 2M 6M 13/14M
                  14M 17M  26C 26D 32gm 34 34B 34C 34D 34gm 34gmB 39 39B 39gm 57 57M 57M/58M โดยมี

                  ขอจํากัด  คือ ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร  ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช

                  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ศักยภาพการใชเครื่องจักร ความเสียหายจากการกัดกรอน










                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139