Page 130 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 130

3-62





                                1.3) ยางพารา  เกษตรกรสวนใหญนิยมปลูกยางพาราสายพันธุ RRIM 600

                  ปลูกในชวงตนฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนพฤษภาคม มีวิธีการปลูกแบบขุดหลุมปลูก

                  หลุมมีขนาด 50 x 50 x  50  เซนติเมตร มีระยะระหวางตน 2.5 เมตร ระยะระหวางแถว 7-8 เมตร

                  มีปริมาณ 80-91 ตน/ไร วิธีการดูแลรักษามีการใสปุยดวยกัน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1  ตนฤดูฝนประมาณ
                  พฤษภาคม – มิถุนายน ใสปุยสูตร 16-11-14 ครั้งที่ 2 ปลายฤดูฝนประมาณเดือนตุลาคมใสปุยสูตร 16-11-14

                  มีอัตราการใชตนละประมาณ 500-600 กรัม/ไร ยางพาราสามารถเปดกรีดได เมื่ออายุประมาณ 7 ป

                  เปดหนายางชวงเดือนตุลาคมเปนตนไป นิยมใชแรงงานคนเปนหลักในการเก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ย
                  200-300 กิโลกรัม/ไร

                               1.4)  ไมผลผสม เกษตรกรนิยมปลูกไมผลผสมในพื้นที่เดียวกันโดยสวนใหญนิยมปลูก

                  เงาะ ลองกอง ทุเรียน โดยขุดหลุมปลูกขนาดของหลุม กวาง-ยาว-ลึก ประมาณ 50-100  เซนติเมตร แลวนํา

                  ตนกลาลงปลูกในฤดูฝน ชวงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน แลวใสปุยสูตร 15-15-15  ในอัตรา
                  3 กิโลกรัม/ไร เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต ประมาณชวงเมษายนเปนตนไป ผลผลิตเฉลี่ย 800-1,000 กิโลกรัม/ไร

                                1.5)  มะพราว เกษตรนิยมปลูกมะพราวพันธุพื้นเมืองและพันธุชุมพรลูกผสมโดย

                  นิยมปลูกกันในชวงหนาฝนขุดหลุมปลูกขนาด 50 x 50 x 50 เซนติเมตร โดยขุดดินตรงกลางหลุม
                  ขนาดเทาผลมะพราว ใชปูนขาวหรือยากันราทาตรงรอยตัดวางหนอลงในหลุมใหหนอตั้งตรง

                  เอาหนอมะพราววางลงจัดรากใหแผตามธรรมชาติ เอาดินกลบเหยียบดานขางใหแนน กลบดินใหเสมอ



                  ผิวของผลมะพราว ปกหลักกันลมโยกในระยะแรก ๆ ควรทํารมบังแดดดวยการดูแลรักษา การใหน้ํา 21
                  ในชวง 1-2 ปแรก การใหน้ําแกตนมะพราวเปนสิ่งจําเปนในฤดูแลง ควรรดน้ําอยางนอยอาทิตยละครั้ง
                  และใชเศษหญาคลุมโคนมะพราวเพื่อรักษาความชื้น  ใสปุยและกําจัดวัชพืชอยางสม่ําเสมอ เริ่มเก็บ

                  ผลผลิตในชวงเดือนสิงหาคมถึงกันยายนผลมะพราวเริ่มแกเมื่ออายุประมาณ 11-12 เดือน เกษตรกร

                  นิยมสอยมะพราวทุกๆ 45-60  วัน โดยนิยมใชไมไผลํายาวๆที่มีตะขอผูกติดปลายลํา  ใชตะขอเกี่ยว
                  ทะลายที่มีผลแกแลวดึงกระตุกใหผลหลุดลงมา แตถามะพราวสูงมาก  มักใชลิงในการเก็บแทน

                  ผลผลิตเฉลี่ย 4500-800 ผล/ไร/ป

                             2) ประเภทการใชประโยชนที่ดินในเขตเกษตรชลประทาน สามารถคัดเลือกประเภท

                  การใชประโยชนที่ดินไดดังนี้
                              2.1)  ขาวนาป  เกษตรกรนิยมปลูกขาวพันธุเล็บนกปตตานี เข็มทอง มีการปลูกแบบ

                  นาดํา มีการเตรียมดินเพื่อทําแปลงกลาเปนระยะเวลา 30 วัน ในชวงเดือนกรกฎาคม หลังจากนั้นทําการ

                  ไถดะ ไถแปร คราดเพื่อทําเทือก และทําการปกดําในเดือนสิงหาคม มีการจัดการโดยใสปุย 2 ครั้ง
                  ครั้งแรกรองพื้นที่ใชปุยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร ครั้งที่ 2 ใสปุยกอนขาวออกรวง








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135