Page 132 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 132

3-64





                  เริ่มเก็บผลผลิตในชวงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน ผลมะพราวเริ่มแกเมื่ออายุประมาณ 11-12 เดือน

                  เกษตรกรนิยมสอยมะพราวทุกๆ 45-60  วัน โดยนิยมใชไมไผลํายาวๆ ที่มีตะขอผูกติดปลายลํา

                  ใชตะขอเกี่ยวทะลายที่มีผลแกแลวดึงกระตุกใหผลหลุดลงมา แตถามะพราวสูงมาก  มักใชลิง
                  ในการเก็บแทน ผลผลิตเฉลี่ย 4500-800 ผล/ไร/ป


                  ตารางที่ 3-13  ประเภทการใชประโยชนที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนารา


                  ประเภท                                                                     ผลผลิต
                                             พันธุ                    ชวงปลูก  ชวงเก็บเกี่ยว   เฉลี่ย
                  การใชประโยชนที่ดิน                                                       (กก./ไร)

                  เขตพื้นที่เกษตรน้ําฝน

                  ขาวนาป                   เล็บนกปตตานี, เข็มทอง    พ.ค.     ก.พ.          350- 450

                  ปาลมน้ํามัน               ลูกผสม                    พ.ค.     เม.ย.        3,000-4,000
                  ยางพารา                    RRIM 600                  มิ.ย.     ต.ค.         200-300

                  ไมผลผสม                   เงาะ, ลองกอง, ทุเรียน     พ.ค.     เม.ย.        800-1,000

                  มะพราว                    พื้นเมือง ,ชุมพรลูกผสม    พ.ค.    ส.ค..         500-800 ผล
                  เขตพื้นที่เกษตรชลประทาน

                  ขาวนาป                   เล็บนกปตตานี, เข็มทอง    พ.ค.     ก.พ.          350- 450

                  ยางพารา                    RRIM 600                  มิ.ย.     ต.ค.         200-300

                  ปาลมน้ํามัน               ลูกผสม                    พ.ค.     เม.ย.        3,000-4,000
                  ไมผลผสม                   เงาะ, ลองกอง, ทุเรียน     พ.ค.     เม.ย.        800-1,000

                  มะพราว                    พื้นเมือง ,ชุมพรลูกผสม    พ.ค.    ส.ค..         500-800 ผล


                  3.2  การประเมินคุณภาพที่ดิน

                             การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพเปนการวิเคราะหศักยภาพของหนวยที่ดินตอการ
                  ใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ ในระดับการจัดการที่แตกตางกัน วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินมีหลาย

                  วิธี กลุมวางแผนทรัพยากรน้ําเพื่อการพัฒนาที่ดินไดเลือกใชวิธีการประเมินคุณภาพที่ดินตามหลักการ

                  ของ FAO Framework ซึ่งมีจํานวน 2 รูปแบบ คือ

                             1)  การประเมินทางดานคุณภาพ เปนการประเมินเชิงกายภาพวาที่ดินนั้นๆ มีความเหมาะสมมาก
                  หรือนอยเพียงใดตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ

                             2)  การประเมินทางดานปริมาณหรือเศรษฐกิจ ซึ่งจะใหคาตอบแทนในรูปผลผลิตที่ไดรับ

                  จํานวนเงินในการลงทุนและจํานวนเงินจากผลตอบแทนที่ไดรับ





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137