Page 133 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 133

3-65





                            3.2.1  การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพ

                                การศึกษาไดดําเนินการประเมินคุณภาพที่ดินทางกายภาพเพียงดานเดียว โดย

                  ศึกษาการประเมินคุณภาพดินรวมกับประเภทการใชประโยชนที่ดินที่ไดกําหนดเปนตัวแทนการ

                  เกษตรกรรมหลักในลุมน้ําสาขา รวมทั้งยังไดประเมินคุณภาพที่ดินจากพืชที่ควรแนะนําในลุมน้ําสาขา
                  แมน้ําบางนารา การวิเคราะหไดคํานึงถึงปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืชในแตละดานของดินที่

                  แตกตางกัน โดยอาศัยคุณลักษณะดินแตกตางกันไปตามวัตถุตนกําเนิดของดินซึ่งคุณลักษณะที่ดินที่ใช

                  ในการแสดงคาเพื่อวัดระดับการเจริญเติบโตแตกตางกัน
                                   การเลือกคุณลักษณะที่ดินเพื่อใชเปนตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมิน

                  ความเหมาะสมที่ดินตามระบบ FAO  กําหนดในระบบไว 25 ชนิด สําหรับประเทศไทยใชคุณลักษณะดิน

                  เพื่อใชเปนตัวแทนคุณภาพที่ดินในการประเมินความเหมาะสมที่ดิน 13 ชนิด โดยตัวแทนคุณภาพ

                  ที่ดินแตละตัวมีขอจํากัดในการเลือกใชจากปจจัยดาน 1) มีผลตอพืชหรือประเภทการใชที่ดินนั้นๆ
                  2) พบคาวิกฤตในพื้นที่ปลูกนั้นๆ 3) การรวบรวมขอมูลตองสามารถปฏิบัติไดจริงจากเงื่อนไขดังกลาว

                  จําเปนตองจัดลําดับความสําคัญคุณภาพที่ดินกอนที่จะนํามาประเมิน ตามเงื่อนไขการคัดเลือกคุณภาพที่ดิน

                                เมื่อทําการจัดลําดับความสําคัญแลวพบวา เงื่อนไขหลักขึ้นอยูกับการรวบรวม
                  ขอมูลคุณลักษณะที่ดิน ดังนั้นเมื่อนํามาใชในการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพของพืชตางๆ ใน

                  เขตลุมน้ําสาขา จึงมีปจจัยหลัก 7 ปจจัย ที่นํามาวิเคราะห ดังนี้

                                   1)  ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (m)
                                   2)  ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o)

                                   3)  ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)

                                 4)  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)
                                   5)  สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)

                                   6)  ศักยภาพการใชเครื่องจักร (w)

                                   7) ความเสียหายจากการกัดกรอน (e)

                                   การจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดินไดจําแนกชั้นความเหมาะสมออกเปน
                  4 ชั้น (Class) และกําหนดชั้นความเหมาะสมในแตละชั้นความเหมาะสมออกเปนชั้นยอย (Subclass)

                  ตามขอจํากัดของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลของพืชหลักตามประเภทการใชที่ดิน ทั้งนี้ ใชวิธีการ

                  ประเมินจากกลุมของคุณลักษณะที่ดินที่มีขอจํากัดรุนแรงที่สุด ทั้งนี้ สามารถจัดชั้นความเหมาะสม
                  ของที่ดินได 4 ชั้น คือ

                                   S1: ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง

                                   S2: ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนรา
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138