Page 49 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 49

3-7





                  ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรด-ดางดินบน

                  อยูระหวาง 5.0-6.5 คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ํา และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ํา

                  คาการนําไฟฟาของดินต่ํา ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณ
                  คอนขางต่ํา สวนบริเวณที่หนาดินมีทรายปน และมีความลาดชันสูงมีอัตราเสี่ยงตอการชะลางพังทลาย

                  ของดินมากหากมีการจัดการดินไมเหมาะสม  ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน

                  กาแฟ ไมผลตางๆ เชน มังคุด เงาะ บางพื้นที่มีการปนคันนาเพื่อใชปลูกขาว แตพื้นที่ปลูกมีเพียง

                  เล็กนอย บางแหงยังคงสภาพปาธรรมชาติ แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ
                                    -  หนวยที่ดินที่ 26 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 359 ไร

                  หรือรอยละ 0.08 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    - หนวยที่ดินที่ 26B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 721 ไร หรือ

                  รอยละ 0.17 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                - หนวยที่ดินที่  26C  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 38,833 ไร หรือ

                  รอยละ 8.96 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 26D  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 7,620 ไร หรือ

                  รอยละ 1.76 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 26E สภาพพื้นที่เปนเนินเขา มีเนื้อที่ 3,906 ไร หรือรอยละ 0.90
                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (2)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนหรือดินทรายแปงละเอียด เกิดจากการทับถมของ

                  ตะกอนลําน้ําบริเวณสันดินริมน้ํา บนพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                  เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ําดี เนื้อดินเปนพวกดินรวน หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง บางแหง

                  อาจมีชั้นดินทรายละเอียดสลับชั้นอยูและมักมีแรไมกาปะปนในเนื้อดิน  สีดินเปนสีน้ําตาล หรือ

                  สีเหลืองปนน้ําตาล ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึง

                  กรดปานกลาง มีคาความเปนกรด-ดางดินบนอยูระหวาง 4.5-6.0  คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุ
                  บวกปานกลาง และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดางต่ํา ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกยางพารา

                  ปาลมน้ํามัน กาแฟ ไมผลตางๆ เชน มังคุด เงาะ บางพื้นที่คงสภาพเปนทุงหญาตามธรรมชาติ พื้นที่

                  ในหนวยที่ดินเหลานี้ไมคอยมีปญหาในเรื่องคุณสมบัติของดิน แตอาจมีปญหาเรื่องน้ําทวม สรางความเสียหาย

                  ใหแกพืชผลที่ปลูก หากน้ําในลําน้ํามีปริมาณมากจนไหลเออทวมตลิ่ง และแชขังอยูเปนเวลานาน
                  แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                - หนวยที่ดินที่  32  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 255 ไร

                  หรือรอยละ 0.06 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา




                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54