Page 51 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 51

3-9





                                -  หนวยที่ดินที่ 34gm  เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 737 ไร หรือรอยละ 0.17 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 34gmb เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา สภาพพื้นที่

                  เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 973 ไร หรือรอยละ 0.22 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (4)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนลึกปานกลางถึงเศษหิน เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่
                  หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุตนกําเนิดดินพวก

                  ตะกอนลําน้ํา บนพื้นที่ดอน มีลักษณะเปนเนินเขา เปนกลุมดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี เนื้อดินชวง

                  50 เซนติเมตร ตอนบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย ในระดับความลึก ประมาณ
                  50-100 เซนติเมตร จะพบชั้นดินปนเศษหินหรือลูกรัง สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดาง

                  ประมาณ 5.0-5.5 ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ปฏิกิริยาดิน

                  คอนขางเปนทราย ถาพบบริเวณที่มีความลาดชันสูงเกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน ปจจุบัน
                  บริเวณดังกลาวสวนใหญใชปลูกไมยืนตน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                -  หนวยที่ดินที่  50E สภาพพื้นที่เปนเนินเขา มีเนื้อที่ 492 ไร หรือรอยละ 0.11

                  ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                (5)  กลุมชุดดินที่เปนดินเหนียวลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น เกิดจากการสลายตัวผุพัง

                  อยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของวัตถุตนกําเนิดดินที่มาจากหินเนื้อละเอียด

                  บนบริเวณพื้นที่สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดถึงเนินเขา เปนกลุมดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี

                  เนื้อดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว สวนดินลางในระดับความลึกระหวาง 50-100 เซนติเมตร
                  เปนดินลูกรังหรือดินปนเศษหินผุ ซึ่งเปนพวกหินดินดาน สีดินเปนสีน้ําตาลออน สีเหลืองหรือสีแดง

                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรด

                  เปนดางประมาณ 5.0-5.5 ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก ดินชั้นลางมีลุกรัง หรือเศษหิน
                  ปะปนอยูเปนปริมาณมากทําใหการปลูกพืชรากลึกอาจมีปญหา และดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา บริเวณที่

                  มีความลาดชันสูงอาจเกิดการชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกไมยืนตน

                  และไมผล แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ
                                - หนวยที่ดินที่ 53C สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 3,223 ไร หรือ

                  รอยละ 0.74 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                -  หนวยที่ดินที่ 53D สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 1,809 ไร หรือ
                  รอยละ 0.42 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา








                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56