Page 44 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 44

3-4





                  โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 3,412 ไร หรือรอยละ 0.79 ของพื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา

                                (4)  กลุมชุดดินที่เปนดินเปรี้ยวจัดลึกปานกลาง เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิด
                  ดินพวกตะกอนผสมของตะกอนลําน้ําและตะกอนน้ําทะเลแลวพัฒนาในสภาพน้ํากรอย ในบริเวณที่

                  ลุมต่ําชายฝงทะเล หรือบริเวณพื้นที่พรุ มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ําเลวมาก

                  มีเนื้อดินเปนดินเหนียว ดินบนมีสีดําหรือสีเทาปนดํา ซึ่งมีปริมาณอินทรียวัตถุสูง ดินลางมีสีเทา มีจุดประ

                  สีเหลืองและสีน้ําตาลปะปนอยูเล็กนอย ดินชวงลางลึกกวา 80 เซนติเมตร มีลักษณะเปนดินเลนสีเทา
                  ปนเขียวที่มีสารประกอบกํามะถันมาก ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดรุนแรงมาก มีคาความเปนกรดเปนดางนอยกวา 4.5 ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญเปนปาเสม็ด

                  มีวัชพืชตางๆ เชน กก กระจูด และหญาชันกาศ เปนพืชพื้นลาง บางแหงใชทํานาแตผลผลิตต่ํา หากไมมี
                  การใชปูนเพื่อแกไขความเปนกรดของดิน พืชที่ปลูกมักไมคอยไดผล แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    - หนวยที่ดินที่  14 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 439  ไร

                  หรือรอยละ 0.10 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 14I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีระบบชลประทาน
                  มีเนื้อที่ 5,096 ไร หรือรอยละ 1.18 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                    - หนวยที่ดินที่ 14M สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลงพื้นที่

                  โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 687 ไร หรือรอยละ 0.16 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                                    - หนวยที่ดินที่ 14MI สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการดัดแปลงพื้นที่

                  โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 3,605 ไร หรือรอยละ 0.83 ของพื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา
                                (5)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนละเอียดลึกมาก เปนกลุมดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดิน

                  พวกตะกอนลําน้ํา และ/หรือการสลายตัวผุพังอยูกับที่แลวถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของ

                  หินเนื้อหยาบ ในบริเวณที่ราบมีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน
                  เปนกลุมดินลึกที่มีการระบายน้ําสวนใหญคอนขางเลว เนื้อดินบนเปนพวกดินรวนปนทรายหรือดินรวน

                  ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย หรือดินรวนเหนียว มีสีน้ําตาลออนถึงสีเทา พบจุดประพวก

                  สีน้ําตาล สีเหลือง หรือสีแดงปะปน บางแหงอาจพบศิลาแลงออนหรือกอนสารเคมีสะสมพวกเหล็ก

                  และแมงกานีสในดินชั้นลาง  ดินมีความสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด
                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5  ปจจุบันบริเวณดังกลาวสวนใหญใชทํานา หรือไมยืนตน

                  แตมีปญหาเรื่องการแชขังของน้ําในฤดูฝน แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49