Page 50 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 50

3-8





                                - หนวยที่ดินที่ 32B สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 31,674 ไร

                  หรือรอยละ 7.31 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 32Bb สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีการปนคันนาเพื่อ
                  ปลูกขาว มีเนื้อที่ 699 ไร หรือรอยละ 0.16 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่  32gm  เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 4,930 ไร หรือรอยละ 1.14 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 32gmb เปนดินที่ไดรับอิทธิพลจากการแชขังของน้ํา สภาพพื้นที่
                  เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 1,291 ไร หรือรอยละ 0.30 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                (3)  กลุมชุดดินที่เปนดินรวนละเอียด เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหิน

                  ตนกําเนิดชนิดตาง ๆ แลวถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของหินเนื้อหยาบ ทั้งหินอัคนี หรือ
                  หินตะกอน หรือมาจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา บริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ

                  หรือคอนขางราบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนชัน เปนกลุมดินลึกมากมีการระบายน้ําดี มีเนื้อดินบนเปน

                  ดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง

                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมีคาความเปนกรด-ดางดินบน
                  อยูระหวาง 5.0-5.5 คาความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ํา และความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปน

                  ดางต่ํา คาการนําไฟฟาของดินต่ํา ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดิน ไดแก เนื้อดินคอนขางเปนทราย

                  และดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเกี่ยวกับชะลางพังทลาย
                  ของหนาดิน ปจจุบันบริเวณดังกลาวใชปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ ไมผลตางๆ เชน เงาะ มังคุด

                  บางแหงยังคงสภาพปาธรรมชาติ และทุงหญาธรรมชาติ แบงเปนหนวยที่ดินตางๆ คือ

                                    -   หนวยที่ดินที่ 34  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่ 774 ไร
                  หรือรอยละ 0.18 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 34B สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีเนื้อที่ 110,787 ไร

                  หรือรอยละ 25.57 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 34Bb สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีการปนคันนา

                  เพื่อทําการปลูกขาว มีเนื้อที่ 355 ไร หรือรอยละ 0.08 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                - หนวยที่ดินที่ 34C สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 8,433 ไร หรือรอยละ
                  1.95 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                                -  หนวยที่ดินที่ 34D  สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 761 ไร หรือรอยละ

                  0.18 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา







                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55